Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53335
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKruawun Jankaew-
dc.contributor.advisorNatthawut Charoenthanwa-
dc.contributor.advisorStacey Chalermchaikit-
dc.contributor.authorNardthida Kananithikorn-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.coverage.spatialThai-
dc.date.accessioned2017-09-20T04:29:36Z-
dc.date.available2017-09-20T04:29:36Z-
dc.date.issued2011-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53335-
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science Department of Geology Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2011en_US
dc.description.abstractThe Erawan Field is located in the central Pattani Basin, Gulf of Thailand. The objective of this study is to explain the geological structure and depositional environment of the sediments in the northern part of Erawan Field by using 3D seismic, well logs including mud log data. Structure is interpreted from 3D seismic data resulting faults and horizons interpretation. The main structure is N-S trending graben system with minor synthetic/antithetic fault in NNE-SSW direction. The structural closure is relating to west-dipping fault. Based on the well logs and mud log interpretation, the study area was developed in fluvial depositional environment with different vertically dense sand. The section studied can be divided into 4 units. Unit A is possibly avulsed-channel belts deposit. Unit B could be overbank deposit. Unit C could be complex meandering belts deposit. Unit D is possibly meandering belts deposit.en_US
dc.description.abstractalternativeการศึกษางานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างทางธรณีวิทยาและสภาวะแวดล้อมการสะสมตัวของตะกอนบริเวณตอนเหนือของแหล่งเอราวัณ ซึ่งอยู่บริเวณตอนกลางแอ่งปัตตานี ในอ่าวไทย โดยใช้ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อนสามมิติ ข้อมูลหยั่งธรณีหลุมเจาะ จำนวน 24 หลุม และข้อมูลโคลนเจาะจำนวน 11 หลุม ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาที่ได้ทำการศึกษาจากข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อนสามมิติ พื้นที่ศึกษาแสดงลักษณะโครงสร้างกราเบนเป็นโครงสร้างหลักจากรอยเลื่อนปกติที่มีการเอียงเทไปทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก โดยแนวการวางตัวของรอยเลื่อนส่วนใหญ่อยู่ในแนวเกือบเหนือ-ใต้ โครงสร้างปิดที่มีประสิทธิภาพในการกักเก็บปิโตรเลียมได้นั้นสัมพันธ์กับรอยเลื่อนที่มีการเอียงเทไปทางทิศตะวันตก การศึกษานี้สามารถช่วยคาดการณ์พัฒนาการตามเวลาของสภาวะแวดล้อมการสะสมตัวของตะกอนในพื้นที่ศึกษา โดยใช้การศึกษาลักษณะข้อมูลหยั่งธรณีหลุมเจาะเป็นหลัก สภาวะแวดล้อมการสะสมตัวของพื้นที่นั้นเป็นการสะสมตัวในระบบทางน้ำ ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ชุด ที่มีความแตกต่างกันของความหนาแน่นของตะกอนทรายในแนวดิ่ง เรียงจากอายุมากไปน้อย ดังนี้ ชุดเอ เป็นสภาพแวดล้อมการสะสมตัวของตะกอนน่าจะเป็นพื้นที่ทางน้ำเปลี่ยนทิศทาง ชุดบี สภาวะแวดล้อมการสะสมตัวน่าจะเป็นพื้นที่ราบน้ำท่วมถึง ชุดซี สภาวะแวดล้อมการสะสมตัวของตะกอนคาดว่าเป็นพื้นที่ทางน้ำกวัดแกว่งหลายสายสลับซับซ้อน และชุดดี คาดว่าสภาวะแวดล้อมการสะสมตัวเป็นพื้นที่ทางน้ำกวัดแกว่งen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectGeology, Structural -- Gulf of Thailand (Erawan field)en_US
dc.subjectGeology, Structural -- Gulf of Thailand (Patani basin)en_US
dc.subjectSeismic wavesen_US
dc.subjectSediments (Geology)en_US
dc.subjectธรณีวิทยาโครงสร้าง -- อ่าวไทย (แหล่งเอราวัณ)en_US
dc.subjectธรณีวิทยาโครงสร้าง -- อ่าวไทย (แอ่งปัตตานี)-
dc.subjectคลื่นไหวสะเทือน-
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา)-
dc.titleGeological structure and depositional environment of sediments in the North Erawan field, Pattni basin, Gulf of Thailanden_US
dc.title.alternativeโครงสร้างทางธรณีวิทยาและสภาวะแวดล้อมการสะสมตัวของตะกอนบริเวณตอนเหนือของแหล่งเอราวัณ แอ่งปัตตานี อ่าวไทยen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorNo information provided-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.email.authorwaew_ma@hotmail.com-
dc.email.authorNo information provided-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
report_Nardthida Kananithikorn.pdf4.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.