Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53361
Title: การวิเคราะห์ความน่าจะเป็นของการเกิดแผ่นดินไหวตามแนวกลุ่มรอยเลื่อน เหลื่อมข้าง ชายแดนไทย-พม่า
Other Titles: Probabilistic analysis of earthquake occurrence along the strike-slip fault zone, Thailand-Myanmar border
Authors: อำนาจ เลิศรัตนานนท์
Email: ed_verylove_foxy@hotmail.com
Advisors: สันติ ภัยหลบลี้
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Advisor's Email: Pailoplee.S@hotmail.com
Subjects: แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว -- ไทย
แผ่นดินไหว -- พม่า
พยากรณ์แผ่นดินไหว
พยากรณ์แผ่นดินไหว -- ไทย
พยากรณ์แผ่นดินไหว -- พม่า
รอยเลื่อน (ธรณีวิทยา)
รอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- ไทย
รอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- พม่า
เขตรอยเลื่อน
เขตรอยเลื่อน -- ไทย
เขตรอยเลื่อน -- พม่า
Earthquakes
Earthquakes -- Thailand
Earthquakes -- Burma
Earthquake prediction
Earthquake prediction -- Thailand
Earthquake prediction -- Burma
Faults (Geology)
Faults (Geology) -- Thailand
Faults (Geology) -- Burma
Fault zones
Fault zones -- Thailand
Fault zones -- Burma
Issue Date: 2556
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวในเชิงสถิติในบริเวณภาคตะวันตกของ ประเทศไทยและชายแดนไทย-พม่า ซึ่งในบริเวณนี้ประกอบไปด้วยกลุ่มรอยเลื่อนเหลื่อมข้างที่สำคัญ มากมาย ซึ่งจากพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวที่บันทึกได้ในปัจจุบัน พบว่ากลุ่มรอยเลื่อนเหล่านี้มีความ เสี่ยงที่จะเกิดอันตรายจากการเกิดแผ่นดินไหว และพื้นที่บริเวณนี้ยังพบว่าเป็นพื้นที่เขื่อนกักเก็บน้ำทั้งใน ประเทศไทย และในประเทศพม่า จึงต้องการศึกษาพฤติกรรมของแผ่นดินไหวในบริเวณนี้เพื่อ ทำนายความ น่าจะเป็นที่จะเกิดแผ่นดินไหวในขนาดต่างๆ โดยใช้ข้อมูลทางสถิติ จากข้อมูลความถี่และขนาดของ แผ่นดินไหว ในการบอกถึงพฤติกรรมของแผ่นดินไหวในบริเวณพื้นที่ศึกษานี้เพื่อทำแผนที่แสดงลักษณะ พฤติกรรมของแผ่นดินไหวในพื้นที่ ขนาดแผ่นดินไหวสูงสุดที่จะเกิดในพื้นที่ คาบอุบัติซ้ำ ทำนายความน่าจะ เป็นของการเกิดแผ่นดินไหวขนาดต่างๆในบริเวณพื้นที่ศึกษา ผลการศึกษาพบว่าบริเวณทางตอนเหนือของพื้นที่ศึกษามีพฤติกรรมของแผ่นดินไหวที่รุนแรงที่สุด ยกตัวอย่างเช่น ขนาดแผ่นดินไหวสูงสุดที่เกิดได้ในรอบ 50 ปี ของพื้นที่บริเวณนี้คือ 5.5 ริกเตอร์ และบริเวณ ตอนกลางของพื้นที่มีพฤติกรรมของแผ่นดินไหวที่น้อยที่สุด จะสังเกตได้จากคาบอุบัติซ้ำ ในการเกิด แผ่นดินไหวของขนาด 6 ริกเตอร์ที่ยาวนานถึง 500 ปี และบริเวณตอนล่างของพื้นที่ศึกษามีพฤติกรรม แผ่นดินไหวปานกลางจะพบว่าความน่าจะเป็นในการเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7 ในรอบ 50 ปี ของพื้นที่นี้คือ ร้อยละ 15
Other Abstract: The study area is located in Western of Thailand along the Strike-slip fault zone of Thailand-Myanmar Border. Fault zone in this area has influenced from main strike-slip fault in Myanmar called the Sagiang fault zone. Therefore, the study area has a potential to generated earthquake in the future, which should be clarified carefully the earthquake activities. In order to estimate the earthquake activities, the earthquake data recorded instrumentally are utilized as the main database. The frequency-magnitude distribution model is applied in order to analyzed the earthquake parameters representing directly the earthquake activities. The obtained results revealed that the northern segment are the most seismic-prone area capable to generate the earthquake with magnitude up to 5.5 Mw in the next 50 year. Meanwhile in the central segment, the recurrence interval of the Mw-6.0 earthquake is estimated around 500 year defining as the comparative medium hazard. For the comparative low hazard of southern segment, there is only 15% probability that the earthquake might be posed in the forthcoming 50 year.
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา .... คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53361
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332739123 อำนาจ เลิศรัตนานนท์.pdf5.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.