Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53380
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันติ ภัยหลบลี้-
dc.contributor.authorเสกสรรค์ ภัทรธรรมเสรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialพม่า-
dc.coverage.spatialจีน-
dc.date.accessioned2017-09-28T10:44:03Z-
dc.date.available2017-09-28T10:44:03Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53380-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractดัชนีธรณีสัณฐาน เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางธรณีสัณฐานในเชิงปริมาณ โดยใช้ข้อมูลมางโทรสัมผัสในการแปลความหมายเป็นหลัก ซึ่งได้นำมาใช้ในการประเมินความสัมพันธุ์ทางธรณีแปรสัณฐานกับลักษณะภูมิประเทศที่เกิดขึ้นในพื้นที่ตามบริเวณแนวรอยเลื่อนแสนหวี-นานติง ที่เห็นได้ชัดเจนโดยอาศัยข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมและแผรที่แสดงความสูงแบบดิจิตอล งานวิจัยนี้เลือกใช้ดัชณีธรณีสัณฐาน 3 ชนิด ได้แก่ ดัชนีความคดโค้งเชิงเขา, ดัชนีความไม่สมมาตรของแอ่ง และดัชนีความสูงสัมบูรณ์ของแอ่ง ผลจากการวิเคราะห์พบว่า ดัชนีความคดโค้งเชิงเขาในบริเวณพื้นที่ศึกษาพบว่า มีแนวรอยเลื่อนที่มีค่าเข้าใกล้ 1 กระจายทั่วไป จึงส่งผลกระทบให้เกิดแผ่นดืนไหวได้บ่อยครั้ง ส่วนค่าดัชนีคความสูงสัมบูรณ์ของแอ่ง ได้จากการวิเคราะห์ค่าของพื้นที่แอ่งรับน้าของแม่น้ำลำดับที่ 6 ซึ่งบ่งบอกลักษณะบริเวณพื้นที่ศึกษา ได้ว่า ทางด้านตะวันออกเป็นแอ่งที่มีกระบวณการทางธรณีสัณฐานอยู่มาก และค่าดัชนีความไม่สมมาตรของแอ่ง แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเอียงเทของแอ่งรับน้ำในพื้นที่ศึกษา จะเห็นว่าทางด้านตะวันออกมีแนวโน้มการเอียงเทจากเหนือไปใต้ ดัชนีธรณีสัณฐานที่ได้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นของการศึกษาพฤติกรรมกระบวนการธรณีแปรสัณฐาน จากการศึกษาลักษณะภูมิประเทศโดยรวมเพื่อบอกลักษณะการเปลี่ยนแปลง และผลที่อาจเกิดจากรอยเลื่อนมีพลัง นอกจากนี้ยังสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาต่อไปได้ในอนาคตen_US
dc.description.abstractalternativeGeomorphic Index is one of the quantitative methods evaluating effectively the tectonic activities related erosional process. This study focuses on the investigation of geomorphic index along the Hsenwi-Nanting fault zone, Myanmar-China border. This is analyzed by remote sensing data, satellite image and digital elevation model. Totally 3 index are recognized in this study including the Mountain front sinuosity Index (Smf), Basin asymmetry Index (T), and Basin hypsometric Index (HI). For Smf index, the most fault lines in the study areas are close to 1 implying the high tectonic activities. In case of HI Index analyzed from the river basin order 6, the eastern part of the study areas show comparatively high of tectonic activities comparing with the western part. In addition for T Index, most basin tilt in the north-south direction. This tilting of basin quite conform to the previous research work of GPS investigation. However, the geomorphic index are only preliminary data on study tectonic activity. The study of landscape as a whole to describe the changes and activity in the area caused of active fault. The result from this study can help study area for other exploration on this area.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectธรณีสัณฐานวิทยา -- พม่าen_US
dc.subjectธรณีสัณฐานวิทยา -- จีนen_US
dc.subjectรอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- พม่าen_US
dc.subjectรอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- จีนen_US
dc.subjectGeomorphology -- Myanmaren_US
dc.subjectGeomorphology -- Chinaen_US
dc.subjectFaults (Geology) -- Myanmaren_US
dc.subjectFaults (Geology) -- Chinaen_US
dc.titleการวิเคราะห์ดัชนีธรณีแปรสัณฐานตามแนวรอยเลื่อนแสนหวี-นานติง,ชายแดนพม่า-จีนen_US
dc.title.alternativeGeomorphic analysis along the Hsenwi-Nanting fault zone, Myanmar-China borderen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorPailoplee.S@hotmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332733323 เสกสรรค์ ภัทรธรรมเสรี.pdf5.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.