Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53424
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันติ ภัยหลบลี้-
dc.contributor.authorธนพรรษ พิเชฐโสภณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialนิวซีแลนด์-
dc.date.accessioned2017-10-06T03:49:13Z-
dc.date.available2017-10-06T03:49:13Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53424-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา .... คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559en_US
dc.description.abstractปัจจุบันประเทศนิวซีแลนด์เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวอยู่บ่อยครั้ง ทำให้ประชาชนตื่นตระหนักถึงผล ที่จะเกิดขึ้นกับอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่สำคัญ เช่น อาคาร ที่อยู่อาศัย ดังนั้นงานวิจัยในครั้งนี้จึงมุ่งเน้นที่จะประเมินพฤติกรรมและพิบัติแผ่นดินไหวของประเทศนิวซีแลนด์ทั่วประเทศ ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยประเมินพิบัติภัยและลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นขณะเกิดแผ่นดินไหวของประเทศนิวซีแลนด์ โดยในการประเมินจะใช้ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวจากฐานข้อมูล Incorporated Research Institutions for Seismology (IRIS) ซึ่งหลังจากการปรับปรุงคุณภาพข้อมูลแล้วพบว่ามีข้อมูลแผ่นดินไหวทั้งสิ้น 10,650 เหตุการณ์ การประเมินพฤติกรรมแผ่นดินไหวทำได้โดยการหาขนาดแผ่นดินไหวสูงสุด มีหน่วยเป็น moment magnitude (Mw) การหาคาบอุบัติซ้ำของการเกิด มีหน่วยเป็น ปี (Year) และการหาความน่าจะเป็นของการเกิดแผ่นดินไหวในขนาดและช่วงเวลาต่างๆ ซึ่งสามารถคำนวณจากสมการของ Yadav และคณะ (2011) และประเมินโดยการหาค่า a และ b จากสมการความสัมพันธ์ของ (Gutenberg และ Richter, 1944) ส่วนการประเมินพิบัติภัยแผ่นดินไหวจะประเมินเชิงปริมาณในรูปของแรงสั่นสะเทือนสูงสุดบนพื้นดิน (Peak Ground Acceleration, PGA) โดยทำการประเมินด้วยวิธีกำหนดค่า (Deterministic Seismic Hazard Analysis) และการประเมินด้วยวิธีความน่าจะเป็น (Probabilistic Seismic Hazard Analysis) จากการประเมินพบว่าขนาดแผ่นดินไหวสูงสุดมีค่าอยู่ระหว่าง 5.5-8.3 Mw ในรอบ 50 ปี และค่าระดับแรงสั่นสะเทือนสูงสุดมีค่าอยู่ระหว่าง 0.01-0.45g ทั้งนี้พื้นที่ที่มีพิบัติภัยแผ่นดินไหวรุนแรงและต้องเฝ้าสังเกตและระวังพิบัติภัยแผ่นดินไหวที่จะเกิดขึ้นมีค่าแรงสั่นสะเทือนสูงสุดอยู่ในช่วง 0.39-0.45g ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการประเมินความเสี่ยงของพื้นที่และปรับปรุงคุณภาพของสิ่งก่อสร้างให้เหมาะสมเพื่อรับมือกับแผ่นดินไหวที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ส่วนที่มีพิบัติภัยต่ำมีค่าแรงสั่นสะเทือนสูงสุด เท่ากับ 0.01g.en_US
dc.description.abstractalternativeNew Zealand has many seismic source zone and it make earthquake occurred. Then many people concerned about the impact on construction especially residence. In this study, the assessment of earthquake activity and hazard in New Zealand can help to assess the seismic hazard and reduce effect of earthquake. The main dataset are completeness earthquake catalog occupied by Incorporated Research Institutions for Seismology (IRIS). After improving the earthquake catalogue has 10,651 events. Maximum earthquake in moment magnitude (Mw) unit, recurrence interval in year and probability of occurrence are used to assess earthquake activity related to Yadav et al. (2011) equation and other method is estimate a and b value from G-R relationship (Gutenberg and Richter, 1944). Thereafter, Peak Ground Acceleration (PGA) was considered in order to assess seismic hazard by Deterministic Seismic Hazard Analysis (DSHA) and Probabilistic Seismic Hazard Analysis (PSHA). The results of maximum earthquake are between 5.5 and 8.3 Mw in 50 years. And the highest of Peak Ground Acceleration are between 0.01 and 0.45g which is necessary to evaluate risks of the area and properly adjust quality of buildings to reduce damages from earthquake, which may occur in future. And the lowest of PGA from earthquake hazard is revealed that is 0.01g.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวิทยาแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectวิทยาแผ่นดินไหว -- นิวซีแลนด์en_US
dc.subjectแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectแผ่นดินไหว -- นิวซีแลนด์en_US
dc.subjectการประเมินอันตรายจากแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectการประเมินอันตรายจากแผ่นดินไหว -- นิวซีแลนด์en_US
dc.subjectSeismologyen_US
dc.subjectSeismology -- New Zealanden_US
dc.subjectEarthquakesen_US
dc.subjectEarthquakes -- New Zealanden_US
dc.subjectEarthquake hazard analysisen_US
dc.subjectEarthquake hazard analysis -- New Zealanden_US
dc.titleพฤติกรรมและพิบัติภัยแผ่นดินไหวของประเทศนิวซีแลนด์en_US
dc.title.alternativeEarthquake activities and hazard of New Zealanden_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorPailoplee.S@hotmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tanapat Pichetsopon.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.