Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5342
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา ยูนิพันธุ์-
dc.contributor.advisorวราภรณ์ ชัยวัฒน์-
dc.contributor.authorศุวัชรีย์ งูพิมาย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-09T02:17:38Z-
dc.date.available2008-01-09T02:17:38Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741312938-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5342-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ค่าใช้จ่าย ภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของบุคลากร ในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจที่ได้รับการดูแลตามปกติและในผู้ป่วยที่ได้รับการจจัดการผู้ป่วยรายกรณี มีตัวอย่างประชากร 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) ผู้ป่วยที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดในงานวิจัย จำนวน 30 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจที่ได้รับการดูแลตามปกติเป็นกลุ่มควบคุม และผู้ป่วยที่ได้รับการจัดการผู้ป่วยรายกรณีเป็นกลุ่มทดลอง จับคู่ผู้ป่วยระหว่าง 2 กลุ่ม ด้วยช่วงอายุ เพศ และข้อบ่งชี้ในการใช้เครื่องช่วงหายใจ (2) บุคลากรในทีมผู้เกี่ยวข้องในการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจในข้อ (1) จำนวน 38 คน ได้แก่ แพทย์ 3 คน พยาบาลประจำหอผู้ป่วยจำนวน 28 คน และพยาบาลหน่วยช่วยการหายใจจำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 6 ชุด ได้แก่ แบบวัดความรู้เรื่องการจัดการผู้ป่วยรายกรณี คู่มือการปฏิบัติสำหรับบุคลากรในการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ แผนการดูแลผู้ป่วยล่วงหน้าสำหรับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ แบบประเมินการใช้เครื่องช่วยหายใจประจำวัน แบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วย และแบบวัดความพึงพอใจของบุคลากร ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเที่ยงแล้ว ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ยของระยะเวลาที่ใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามปกติและในผู้ป่วยที่ได้รับการจัดการผู้ป่วยรายกรณีไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. ค่าเฉลี่ยของค่าใช้จ่ายในการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ใช้ระบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณี น้อยกว่าในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. จำนวนครั้งของการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ใช้ระบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีน้อยกว่าในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามปกติ 4. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจของบุคลากรหลังใช้ระบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีสูงกว่าก่อนใช้ระบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research were to compare mechanically-ventilated days, cost, complications, and staff satisfaction before and after using nursing case management program. Research subjects were: 1) 30 mechanically-ventilated patients selected by purposive sampling, and 2) 38 medical staffs involving in caring of those patients. Data were collected by two instruments, patient's data sheet and staff satisfaction questionnaires, whose content validity and reliability were previously established. The data were analyzed by means, standard deviation, and t-test. Major findings were as followed: 1. There were no statistically difference in mechanically-ventilated days between the two groups. 2. The mean of cost of mechanically-ventilated patient care in the case managed group was statistically lower than that of the control group, at .05 level. 3. The incidents of complications from using mechanically-ventilator in case managed group were statistically lower than that of the control group.4. The mean of staff satisfaction after implementing case management was statistically higher than the one before the implementation.en
dc.format.extent1603909 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการหายใจen
dc.subjectผู้ป่วย -- การดูแลen
dc.subjectการจัดการผู้ป่วยรายกรณีen
dc.subjectเครื่องช่วยหายใจen
dc.titleผลของการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจต่อระยะเวลาที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ค่าใช้จ่าย ภาวะแทรกซ้อนและความพึงพอใจของบุคลากรen
dc.title.alternativeEffects of case management in mechanically-ventilated patients on mechanically-ventilated days, cost, complications, and staff satisfactionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJintana.Y@Chula.ac.th-
dc.email.advisorWaraporn.Ch@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suwatcharee.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.