Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53450
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กรรณิการ์ สัจกุล | - |
dc.contributor.advisor | อารง สุทธาศาสน์ | - |
dc.contributor.author | ประทีป ฉัตรสุภางค์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย (ภาคใต้) | - |
dc.date.accessioned | 2017-10-08T05:40:16Z | - |
dc.date.available | 2017-10-08T05:40:16Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53450 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en_US |
dc.description.abstract | ศึกษาประวัติศาสตร์การศึกษาของชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในรอบศตวรรษ โดยการวิจัยเอกสาร (Documentary research) และโดยวิธีการทางปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenological approach) อาศัยการสังเกตและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก กลุ่มผู้ให้ข้อมูล 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่จัดการศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 7 คน และกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 7 คน จากการวิจัยเอกสารพบว่า พัฒนาการการจัดการศึกษาของชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ก่อน พ.ศ. 2441 ตั้งอยู่บนหลักของศาสนาอิสลาม โดยมีแนวคิดแบบอนุรักษ์นิยม ในระหว่าง พ.ศ. 2441-2549 การศึกษาของชาติได้พัฒนาการไปตามบริบททางสังคม พื้นฐานแนวคิดการจัดการศึกษาของชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ดำรงไว้ซึ่งความเป็นมรดกทางวัฒนธรรม อันมีความสัมพันธ์กับหลักศาสนาอิสลามที่ชุมชนในท้องถิ่นหวงแหน จากการศึกษาทางปรากฏการณ์วิทยาพบว่า การศึกษาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดภาคใต้คือ การจัดการศึกษาที่ไม่ขัดกับหลักศาสนาอิสลาม และไม่ทำลายวัฒนธรรมท้องถิ่น อาศัยการบูรณาการความรู้สามัญและด้านอาชีพ บนฐานคิดและความเชื่อตามหลักศาสนาอิสลาม ในบริบทการศึกษาของชาติที่เอื้อต่อการพัฒนา และส่งเสริมให้ชุมชนได้จัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ การเสริมสร้างความเข้าใจอย่างแท้จริงให้แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยรัฐต้องดำเนินการบนพื้นฐานของความเข้าใจในอัตลักษณ์ของท้องถิ่น เพื่อให้การกำหนดยุทธศาสตร์ โครงสร้าง รูปแบบการจัดการศึกษา หลักสูตร ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการยอมรับจากประชาชนในท้องถิ่น สอดคล้องกับการจัดการศึกษาของชาติ และเสริมสร้างให้มีความเป็นเอกภาพอย่างแท้จริง | en_US |
dc.description.abstractalternative | To study the Educational history of the Muslim Thais in the three border provinces in the last century. The methodologies were documentary research by selected informations and a phenomenological approach by observation and in-depth interviews of two informant groups: (1) Experienced group of the Educational Management in the three southern border provinces, 7 informants; (2) Involved group of the Educational Management in the three southern border provinces, 7 informants. Documentary research found that the development of the education for Muslim Thais in the three provinces before B.E.2441 was based on Islam principles and conservative ideals. So the national education development had changed during B.E. 2441 - 2549 following the social context, but the fundamental education concepts of the Muslim Thais in the three border provinces are sustainable in cultural heritages and related with Islam principles and extreme sense of belonging to the communities. A Phenomenological Approach found that the education by the acceptation, the perception and the receptiveness of the local communities was the education that was not opposed to the Islam principles and the local cultures. The educational development needed to integrate knowledge and vocation on Islam fundamental idea and faith within the national environment that supported the communities to arrange the suitable education for the local areas. Recommended suggestion was to build a deep understanding between the involved participations and with the Education Development in the three border provinces. This was the first condition for integrating educational strategy, structure, formation, curriculums, administration and personnel to the unity based on the understandings and cultures of the local particular communities. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.319 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การศึกษา -- ไทย (ภาคใต้) | en_US |
dc.subject | ชาวไทยมุสลิม -- การศึกษา | en_US |
dc.subject | มุสลิม -- ไทย (ภาคใต้) | en_US |
dc.subject | ปรากฏการณ์วิทยา | en_US |
dc.subject | Education -- Thailand, Southern | en_US |
dc.subject | Muslims, Thai -- Education | en_US |
dc.subject | Muslims -- Thailand, Southern | en_US |
dc.subject | Phenomenology | en_US |
dc.title | การศึกษาทางปรากฏการณ์วิทยาของการศึกษาของชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระหว่าง พ.ศ. 2441 ถึง พ.ศ. 2549 | en_US |
dc.title.alternative | Phenomenological approach to the study of education for Muslim Thais in the three southern border provinces during B.E. 2441-2549 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.degree.discipline | พัฒนศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Kanniga.S@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.319 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
pratheep_ch_front.pdf | 9.46 MB | Adobe PDF | View/Open | |
pratheep_ch_ch1.pdf | 11.65 MB | Adobe PDF | View/Open | |
pratheep_ch_ch2.pdf | 68.93 MB | Adobe PDF | View/Open | |
pratheep_ch_ch3.pdf | 13.65 MB | Adobe PDF | View/Open | |
pratheep_ch_ch4.pdf | 224.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
pratheep_ch_ch5.pdf | 90.77 MB | Adobe PDF | View/Open | |
pratheep_ch_ch6.pdf | 30.29 MB | Adobe PDF | View/Open | |
pratheep_ch_back.pdf | 41.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.