Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53471
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์ | - |
dc.contributor.author | พงศภัค ถิรเศรษฐ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.coverage.spatial | สระบุรี | - |
dc.coverage.spatial | เขาวง (สระบุรี) | - |
dc.date.accessioned | 2017-10-10T02:45:28Z | - |
dc.date.available | 2017-10-10T02:45:28Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53471 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 | en_US |
dc.description.abstract | เขาวงตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดสระบุรี มีความยาวประมาณ 6 กิโลเมตร ลักษณะทางธรณีวิทยาของเขาวงซึ่งอยู่ในหมวดหินเขาขาดประกอบไปด้วยหินปูนสีขาวเทาเนื้อดินในยุคเพอร์เมียน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิวัฒนาการทางธรณีวิทยาโครงสร้างของพื้นที่ และระบบรอยแตกที่สัมพันธ์กับธรณีวิทยาโครงสร้าง จากการสำรวจภาคสนามและการวิเคราะห์ธรณีวิทยาโครงสร้างระดับจุลภาคพบว่ามีรอยแตกทั้งหมด 3 ระบบคือ รอยแตกที่ขนานกับชั้นหินเกิดขึ้นเป็นลำดับแรก รอยแตกบริเวณเขตพับการคดโค้ง เป็นลำดับที่สอง และรอยแตกในแนวระดับเป็นลำดับสุดท้าย ซึ่งระบบรอยแตกทั้ง 3 ระบบมีความสัมพันธ์กับวิวัฒนาการทางธรณีวิทยาโครงสร้างของพื้นที่ โดยธรณีวิทยาโครงสร้างวางตัวอยู่ในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้เป็นหลัก ซึ่งเป็นผลมาจากการชนกันของแผ่นจุลทวีปฉานไทยและแผ่นจุลทวีปอินโดไชน่าในช่วงยุคไทรแอสซิกตอนปลาย จากลักษณะทางธรณีวิทยาโครงสร้างของพื้นที่ และระบบรอยแตกที่สัมพันธ์กับธรณีวิทยาโครงสร้างของหมวดหินเขาขาด บริเวณเขาวง จังหวัดสระบุรี พบว่ามีความสัมพันธ์กับการเกิดแนวชั้นหินคดโค้งและรอยเลื่อนย้อนมุมต่ำเขาขวางในยุคไทรแอสสิกตอนปลายหรือการเกิดเทือกเขาอินโดไชเนียน | en_US |
dc.description.abstractalternative | Khao Wong is located along the Northwestern side of Changwat Saraburi. The mountain range is about 6 kilometers in distance. Geology of this area consists of Permain limestone of the Khao Khad formation. The objectives of this study focus is to find out the structural evolution and fracture systems that related to structural geology of this area. Based on evidences in mesoscopic structure from field observation and microstructure of study area, fractures in the study area consist of 3 systems that are (1)Bed-parallel fracture which occurs first, then follow-up by (2)Radial fracture & Fold-axis perpendicular fracture and (3)Sub-horizontal fracture respectively, which all those fracture systems is related to the structural evolution of study area. Main structures are oriented in NW-SE trending which developed as a consequence of Sibumasu-Indochina terrane Collision in Late Triassic. From all structural elements, structural evolution and fracture system that related to structural geology, Khao Wong, Changwat Saraburi is related to Khao Khwang fold and thrust belt or Indosinian orogeny during Late Triassic. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1409 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ธรณีวิทยาโครงสร้าง | en_US |
dc.subject | ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- สระบุรี | en_US |
dc.subject | ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- เขาวง (สระบุรี) | en_US |
dc.subject | Geology, Structural | en_US |
dc.subject | Geology, Structural -- Thailand -- Saraburi | en_US |
dc.subject | Geology, Structural -- Thailand -- Khao Wong (Saraburi) | en_US |
dc.title | ระบบรอยแตกของหมวดหินเขาขาด บริเวณเขาวง จังหวัดสระบุรี | en_US |
dc.title.alternative | Fracture System of the Khao Khad Formation at Khao Wong, Changwat Saraburi | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | pitsanupong.k@hotmail.com | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.1409 | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5432723123_พงศภัค_ถิรเศรษฐ์.pdf | 2.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.