Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53493
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจักรพันธ์ สุทธิรัตน์-
dc.contributor.authorซาร่าห์ กัฟฟาร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialแทนซาเนีย-
dc.coverage.spatialคิรินดี-
dc.date.accessioned2017-10-11T02:57:39Z-
dc.date.available2017-10-11T02:57:39Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53493-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา .... คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาลักษณะเฉพาะของแหล่งกำเนิดพลอยทับทิมคิรินดี ใน ประเทศแทนซาเนีย ประเทศที่เป็นศูนย์รวมแหล่งพลอยแหล่งใหม่ในธุรกิจอัญมณี และมีแนวโน้มใน การส่งออกสูงขึ้น โดยการใช้เครื่องมือวิเคราะห์ขั้นพื้นฐาน และขั้นสูงจากสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญ มณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการตรวจสอบ พลอยที่ไม่ทราบแหล่งกำเนิดแน่ชัด โดยพลอยทับทิม จากแหล่งคิรินดี มีต้นกำเนิดจากหินแอมฟิ โบไลต์ ที่ตั้งอยู่บริเวณแนวหินแปรอูซาการัน และถูกควบคุมโดยระบบร่องทรุดแอฟริกาตะวันออก ตัวอย่างพลอยทับทิมที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้มีทั้งสิ้น 26 ตัวอย่าง เนื้อพลอยค่อนข้างขุ่น มี รอยแตกภายในค่อนข้างมาก และมีมลทินภายในที่เห็นชัด มีการการเรืองแสงภายใต้แสงเหนือม่วงช่วง คลื่นยาวเล็กน้อย และไม่แสดงการเรืองแสงในช่วงคลื่นสั้น พบมลทินผลึกแร่รูไทล์, แอมฟิโบล์, เซอร์ คอน, โครไมต์, การ์เนต, และคลอไรต์ นอกจากนี้ยังพบลักษณะรอยแตก มลทินแถบการเจริญเติบโต ของผลึก และมลทินรอยแตกผสานลายนิ้วมือ เมื่อวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือขั้นสูง แสดงลักษณะแถบสเปคตรัมการดูดกลืนช่วงแสง UV-Vis- NIR มีการดูดกลืนช่วงของโครเมียมสูง และยังแสดงถึงการดูดกลืนช่วงของเหล็ก สำหรับการดูดกลืน คลื่นแสงในช่วงอินฟราเรดพบว่าพลอยทับทิม แหล่งคิรินดี ประเทศแทนซาเนียนี้ แสดงการดูดกลืน ของ OH group ณ ความยาวคลื่น 3090, 3320, 3630 และ 3700 cm-1 นอกจากนี้ผลองค์ประกอบ ทางเคมีพบว่ามีธาตุร่องรอยที่เด่นชัด คือ Fe₂O₃ และ Cr₂O₃ ในปริมาณที่ใกล้เคียงกัน การวิเคราะห์ อัตราส่วนระหว่าง Cr₂O₃/Ga₂O₃ กับ Fe₂O₃/TiO2 ยังแสดงถึงแนวโน้มที่บ่งชี้แหล่งกำเนิดจาก กระบวนการแปรสภาพ และการเทียบสัมพันธ์ด้วยอัตราส่วนระหว่าง V, Fe และ Ga ยังแสดงให้เห็น ถึงองค์ประกอบเคมีที่โดดเด่นของพลอยทับทิมจากแหล่งคิรินดี ซึ่งแตกต่างกันกับพลอยทับทิมจาก แหล่งอื่นen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study characteristics of Ruby from Kilindi Deposits in Tanzania, which is the new gem deposit of the country and trends to be highly exported. Basic and advanced gem-testing instruments based at The Gem and Jewelry Institute of Thailand were used for this study. The main aim of this study is to develop database for further investigation of ruby’s origin. The origin of ruby from Kilindi is from Amphibolite rock, which is located on the Usagaran system in association with East African Rift System. Twenty six ruby samples under this study are opaque with obvious internal cracks and crystal inclusions. Their luminescences are weak under long wave and inert under short wave UV lamps. Mineral inclusions are identified as rutile, amphibole, zircon, chromite, garnet, and chlorite. In addition, various types of inclusions such as fracture, growth line, and fingerprint are often found. Based on advanced analyses, strong absorptions of chromium and iron under UV-Vis-NIR are clearly observed. For absorption under Infrared, Kilindi rubies usually show absorption of OH group at 3090, 3320, 3630 and 3700 cm-1. Furthermore, trace element analyses contain relatively high contents of Fe₂O₃ and Cr₂O₃. Proportional plots between Cr₂O₃/Ga₂O₃ and Fe₂O₃/TiO₂ show trend of metamorphic origin; in addition, from other deposits plots of V, Fe and Ga also show the distinctive proportion of ruby from Kilindi.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectศิลาวิทยาen_US
dc.subjectทับทิมen_US
dc.subjectทับทิม -- แทนซาเนียen_US
dc.subjectทับทิม -- แทนซาเนีย -- คิรินดีen_US
dc.subjectทับทิม -- การวิเคราะห์en_US
dc.subjectทับทิม -- แทนซาเนีย -- การวิเคราะห์en_US
dc.subjectทับทิม -- แทนซาเนีย -- คิรินดี -- การวิเคราะห์en_US
dc.subjectPetrologyen_US
dc.subjectRubiesen_US
dc.subjectRubies -- Tanzaniaen_US
dc.subjectRubies -- Tanzania -- Kilindien_US
dc.subjectRubies -- Analysisen_US
dc.subjectRubies -- Tanzania -- Analysisen_US
dc.subjectRubies -- Tanzania -- Kilindi -- Analysisen_US
dc.titleลักษณะเฉพาะของพลอยทับทิมจากแหล่งคิรินดี ประเทศแทนซาเนียen_US
dc.title.alternativeCharacteristics of ruby from Kilindi deposit, Tanzaniaen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.authorc.sutthirat@gmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarah Gaffar.pdf6.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.