Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53503
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสกลวรรณ ชาวไชย-
dc.contributor.authorพศุตม์ รัตนศรีมงคล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialอุทัยธานี-
dc.coverage.spatialบ้านไร่ (อุทัยธานี)-
dc.date.accessioned2017-10-11T08:35:00Z-
dc.date.available2017-10-11T08:35:00Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53503-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา . คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559en_US
dc.description.abstractในปัจจุบันมีการศึกษางานวิจัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสภาพแวดล้อมในอดีต โดยใช้ธาตุร่องรอยของหินงอกเป็นจำนวนมากในหลากหลายประเทศ โครงงานวิจัยนี้ศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสภาพแวดล้อมในอดีต โดยใช้ธาตุร่องรอยของตัวอย่างหินงอกที่ถ้ำเขาแพร อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี เริ่มจากนำตัวอย่างหินงอกไปวิเคราะห์ด้วยเครื่อง Laser Ablation Inductively Coupled Plasma Mass Spectrometry (LA-ICP-MS) คัดเลือกธาตุร่องรอยที่จะนำไปใช้ศึกษาทั้งหมด 12 ธาตุ จาก 36 ธาตุ ได้แก่ Mg, Sr, Ba, Fe, Zn, Mn, Al, Na, Si, Ti, Rb และTh จากนั้นนำข้อมูลที่ได้ไปหาค่าเฉลี่ยทุกๆ 1 มิลลิเมตร จำนวน 199 มิลลิเมตร และนำธาตุร่องรอยไปวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในเชิงสถิติโดยวิธี Principal component analysis (PCA) สามารถแบ่งกลุ่มของธาตุร่องรอยได้ทั้งหมด 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) Mg, Sr และBa (2) Fe, Zn และ Mn (3) Na, Al, Si, Ti, Rb และTh ธาตุร่องรอยในกลุ่มที่ (1) Mg, Sr และBa น่าจะถูกพัดพามาจากหินเหย้า ซึ่งสามารถบ่งบอกปริมาณน้ำฝนทางอ้อมได้ ธาตุร่องรอยในกลุ่มที่ (2) Fe, Zn และMn น่าจะมีถูกพัดพามาจากดินที่อยู่เหนือถ้ำ สามารถบ่งบอกถึงสภาพแวดล้อมที่มีความชุ่มชื้นได้ และกลุ่มที่ (3) Na, Al, Si, Ti, Rb และTh อาจจะถูกพัดพามาจากแร่ในบริเวณใกล้เคียง จากการนำธาตุร่องรอยในแต่ละกลุ่มมาเปรียบเทียบพบว่าธาตุร่องรอยในกลุ่มที่ (1) Mg, Sr และBa สามารถแบ่งช่วงของปริมาณน้ำฝนออกได้ทั้งหมด 7 ช่วง โดยช่วงที่มีปริมาณน้ำฝนสูง ได้แก่ ช่วงที่ 1 (ค.ศ.345-565) ช่วงที่ 3 (ค.ศ.845-965) และช่วงที่ 6 (ค.ศ.1565-1665) ช่วงที่มีปริมาณน้ำฝนแปรปรวน ได้แก่ ช่วงที่ 2 (ค.ศ.565-845) และช่วงที่ 4 (ค.ศ.965-1365) และช่วงที่มีปริมาณน้ำฝนต่ำ ได้แก่ ช่วงที่ 5 (ค.ศ.1365-1565) และช่วงที่ 7 (ค.ศ.1665-1940) และธาตุร่องรอยในกลุ่มที่ (2) Fe, Zn และ Mn สามารถแบ่งสภาพแวดล้อมช่วงที่มีความชื้นอยู่ได้ทั้งหมด 5 ช่วง โดยช่วงที่มีความชุ่มชื้นสูง ได้แก่ ช่วงที่ 1 (ค.ศ.365-885) ช่วงที่ 3 (ค.ศ.1245-1465) และช่วงที่ 5 (ค.ศ.1665-1905) ช่วงที่มีความชุ่มชื้นต่ำ ได้แก่ ช่วงที่ 2 (ค.ศ.885-1245) และช่วงที่ 4 (ค.ศ.1465-1665)en_US
dc.description.abstractalternativeTrace elements of stalagmite are now established as important paleoclimate and paleoenvironment archives. This study detects trace elements of stalagmite, collected from Amphoe Ban Rai, Changwat Uthai Thani. First, detects trace elements from sample by Laser Ablation Inductively Coupled Plasma Mass Spectrometry (LA-ICP-MS) and select 12 trace elements (Mg, Sr, Ba, Fe, Zn, Mn, Al, Na, Si, Ti, Rb and Th) from 36 elements. Then, average data every 1 millimeter for 199 millimeters, analyze the data by Principal component analysis (PCA), for the next step of PCA analysis that group trace elements which in high relationship, 3 groups include (1) Mg, Sr and Ba (2) Fe, Zn and Mn (3) Na, Al, Si, Ti, Rb and Th, the first group (Mg, Sr and Ba) derived from the carbonate host rock, implication for paleo-rainfall, second group (Fe, Zn and Mn) derived from soil over the cave walls, humidity proxy, and last group (Na, Al, Si, Ti, Rb and Th) maybe derived from minerals in study area. The study result from the correlation of trace elements in the first group (Mg, Sr and Ba) can be divided in 7 phases, high rainfall in phase 1 (345AD-565AD), phase 3 (845AD-965AD) and phase 6 (1565AD-1665AD), Variable rainfall in phase 2 (565AD-845AD) and phase 4 (965AD-1365AD) and low rainfall in phase 5 (1365AD-1565AD) and phase 7 (1665AD-1940AD) and the second group (Fe, Zn and Mn) can be divided in 5 phases, high humidity in phase 1 (365AD-885AD), phase 3 (1245AD-1465AD) and phase 5 (1665AD-1905AD) and low humidity in phase 2 (885AD-1245AD) and phase 4 (1465AD-1665AD)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหินงอกหินย้อยen_US
dc.subjectหินงอกหินย้อย -- ไทยen_US
dc.subjectหินงอกหินย้อย -- ไทย -- อุทัยธานีen_US
dc.subjectหินงอกหินย้อย -- ไทย -- บ้านไร่ (อุทัยธานี)en_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกen_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก -- ไทยen_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก -- ไทย -- อุทัยธานีen_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก -- ไทย -- บ้านไร่ (อุทัยธานี)en_US
dc.subjectธรณีสัณฐานวิทยาen_US
dc.subjectธรณีสัณฐานวิทยา -- ไทยen_US
dc.subjectธรณีสัณฐานวิทยา -- ไทย -- อุทัยธานีen_US
dc.subjectธรณีสัณฐานวิทยา -- ไทย -- บ้านไร่ (อุทัยธานี)en_US
dc.subjectStalactites and stalagmitesen_US
dc.subjectStalactites and stalagmites -- Thailanden_US
dc.subjectStalactites and stalagmites -- Thailand -- Uthai Thanien_US
dc.subjectStalactites and stalagmites -- Thailand -- Ban Rai (Uthai Thani)en_US
dc.subjectClimatic changesen_US
dc.subjectClimatic changes -- Thailanden_US
dc.subjectClimatic changes -- Thailand -- Uthai Thanien_US
dc.subjectClimatic changes -- Thailand -- Ban Rai (Uthai Thani)en_US
dc.subjectGeomorphologyen_US
dc.subjectGeomorphology -- Thailanden_US
dc.subjectGeomorphology -- Thailand -- Uthai Thanien_US
dc.subjectGeomorphology -- Thailand -- Ban Rai (Uthai Thani)en_US
dc.titleธาตุร่องรอยของหินงอก บริเวณอำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานีen_US
dc.title.alternativeTrace elements of stalagmite in Amphoe Ban Rai Changwat Uthai thanien_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorsakonvan.c@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pasut Rattanasrimongkol.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.