Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53505
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีเลิศ โชติพันธรัตน์-
dc.contributor.authorณัฐพัชร คารวะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialลพบุรี-
dc.coverage.spatialพัฒนานิคม (ลพบุรี)-
dc.date.accessioned2017-10-11T09:25:40Z-
dc.date.available2017-10-11T09:25:40Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53505-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559en_US
dc.description.abstractพื้นที่อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ได้ถูกพัฒนาให้เป็นพื้นที่อุตสาหกรรม และเกษตรกรรม มากขึ้น อาจก่อให้เกิดการปนเปื้อนของไนเตรทสู่น้ำบาดาลที่มีปริมาณไนเตรทสูงกว่า 45 มิลลิกรัมต่อ ลิตรซึ่งเกินกว่าค่ามาตรฐานน้ำบาดาลสำหรับการบริโภค การบริโภคน้ำที่มีปริมาณไนเตรทสูงเป็น ระยะเวลานานสามารถนำไปสู่ โรคบลูเบบี (blue baby syndrome) ของเด็กทารกในครรภ์ การ แก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงควรเริ่มตั้งแต่การหาแหล่งกำเนิดของไนเตรท เนื่องจากต้นกำเนิดของ ไนเตรทเป็นได้ทั้งแหล่งกำเนิดจากธรรมชาติ และจากการกระทำของมนุษย์ ดังนั้นจุดประสงค์ของ โครงงานจึงเพื่อประเมินแหล่งที่มาของไนเตรทและอธิบายกลไกระบบน้ำบาดาล ในพื้นที่ศึกษา ประกอบด้วยชั้นน้ำทั้งหมด 3 ชั้น ได้แก่ ชั้นตะกอนตะพักลำน้ำ (Qt) ชั้นหินไรโอไลต์กลุ่มหินห้วยส้ม (PTrhs) ชั้นหินปูนหมวดหินหนองโป่ง (Pn) และหมวดหินเขาขวาง (Pkg) ซึ่งการระบุแหล่งที่มาของไน เตรทสามารถระบุได้ด้วยข้อมูลอุทกธรณีเคมีของน้ำบาดาล ได้แก่ ปริมาณไอออนบวก (Fe, Ca²⁺, Mg²⁺, Na⁺, K⁺) ปริมาณไอออนลบ (Cl⁻, F⁻, Br⁻, NO₂⁻ -, NO3⁻ -, SO4 2-, PO4 3⁻-) และความกระด้างในน้ำ ตัวอย่าง นอกจากนี้ ยังใช้ข้อมูลค่าไอโซโทปเสถียรของน้ำ ได้แก่ 18O และ 2H ซึ่งสนับสนุนการระบุ แหล่งที่มาของไนเตรทในน้ำบาดาล ความเข้มของไนเตรทในน้ำบาดาลมีค่าตั้งแต่ 0.33 – 205.47 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยมีค่าเฉลี่ย 47.44 มิลลิกรัมต่อลิตร พบทั้งหมด 9 จุดศึกษาที่มีปริมาณไนเตรทเกินค่ามาตรฐานน้ำดื่ม ได้แก่ KG9 KG12 KG21 KG22 KG40 KG41 KG46 KG48 และUN1 สำหรับค่าไอโซโทปเสถียรในน้ำบาดาล พบว่ามีค่า 18O ตั้งแต่ -48.20‰ ถึง -22.53‰ และ 2H ตั้งแต่ -7.21‰ ถึง -2.28‰ จากแผนภูมิ ไปป์เปอร์แสดงให้เห็นว่าน้ำส่วนใหญ่เป็นชนิด Ca-HCO3 ซึ่งพบในชั้นน้ำหินปูนหมวดหินหนองโป่งเป็น หลัก และจากผลการศึกษาพบว่าการปนเปื้อนของไนเตรทเกิดจากทั้งกระบวนการทางธรรมชาติ และ การกระทำของมนุษย์ เช่น การทำเกษตรกรรม รวมถึงการปล่อยน้าเสียจากโรงงานและแหล่งชุมชน ซึ่งการทำเกษตรกรรมเป็นกระบวนการหลักที่ทำให้เกิดการปนเปื้อน โดยแต่ละจุดศึกษาจะได้รับ อิทธิพลจากแหล่งกำเนิดคนละชนิดกัน ซึ่งมีกลไกหลักของการปนเปื้อนของไนเตรทในพื้นที่จาก กระบวนการสร้างไนเตรท (nitrification) และกระบวนการเจือจาง (dilution effect) ระบุได้โดยการ เปลี่ยนแปลงค่าอัตราส่วนไอโซโทปเสถียร (fractionation) ของน้ำบาดาลen_US
dc.description.abstractalternativeAmphoe Phatthana Nikom, Changwat Lopburi has been developed to industrial and agricultural areas. As a result, it may lead to nitrate concentration, which is possible to be over the drinking water standard (> 45 mg/l). A consumption high nitrate concentrated water for a long period of time causes the blue baby syndrome. To solve this problem, the source of nitrate should be firstly identified. Typically, the nitrate contamination sources can be categorized into 2 sources from natural and/or anthropogenic activities. This study aimed to evaluate the sources of nitrate contamination and explain the mechanism in groundwater system. In the study area, there are 3 aquifers consisting of Quaternary Terrace aquifer (Qt), rhyolite aquifer Huai Som Group (PTrhs) and karst aquifer Nong Pong Formation (Pn) and Khao Khwang Formation (Pkg). The identification of sources can be used hydrogeochemistry data, consisting of cations (e.g., Fe, Ca2+, Mg2+, Na+, K+), anions (e.g., Cl-, F-, Br-, NO2 -, NO3 -, SO4 2-, PO4 3-) and alkalinity in water sample. Furthermore, stable isotopes, 18O and 2H, were analyzed to further support the identification of nitrate sources. The nitrate concentration in groundwater ranged from 0.33 – 205.47 mg/l with an average of 47.44 mg/l. There are 9 stations, KG9, KG12, KG21, KG22, KG40, KG41, KG46, KG48 and UN1, which found nitrate concentration exceeding the drinking water standard. Isotope compositions of groundwater were found to have 18O values ranging from -48.20‰ to -22.53‰ while 2H values ranging from -7.21‰ to -2.28‰. According to piper diagram, the major water types is Ca-HCO3, mainly found in Nong Pong Formation (Pn). According to the criteria from the previous studies, the results showed that the sources of NO3 - could come from both natural and anthropogenic activities such as agricultural activities, as well as waste water from industrial and municipal areas. Agricultural activities are the main source of nitrate. However, in each station, they are affected from different sources. The main mechanism of nitrate contamination in this area are a nitrification process and dilution effect, which can be indicated by the fractionation of stable isotopes.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไอโซโทปเสถียรen_US
dc.subjectชั้นน้ำบาดาลen_US
dc.subjectชั้นน้ำบาดาล -- ไทยen_US
dc.subjectชั้นน้ำบาดาล -- ไทย -- ลพบุรีen_US
dc.subjectชั้นน้ำบาดาล -- ไทย -- พัฒนานิคม (ลพบุรี)en_US
dc.subjectน้ำใต้ดิน -- คุณภาพen_US
dc.subjectน้ำใต้ดิน -- คุณภาพ -- ไทยen_US
dc.subjectน้ำใต้ดิน -- คุณภาพ -- ไทย -- ลพบุรีen_US
dc.subjectน้ำใต้ดิน -- คุณภาพ -- ไทย -- พัฒนานิคม (ลพบุรี)en_US
dc.subjectน้ำใต้ดิน -- มลพิษen_US
dc.subjectน้ำใต้ดิน -- มลพิษ -- ไทยen_US
dc.subjectน้ำใต้ดิน -- มลพิษ -- ไทย -- ลพบุรีen_US
dc.subjectน้ำใต้ดิน -- มลพิษ -- ไทย -- พัฒนานิคม (ลพบุรี)en_US
dc.subjectไนเตรตen_US
dc.subjectคุณภาพน้ำ -- การวัดen_US
dc.subjectคุณภาพน้ำ -- ไทย -- พัฒนานิคม (ลพบุรี) -- การวัดen_US
dc.subjectStable isotopesen_US
dc.subjectAquifersen_US
dc.subjectAquifers -- Thailanden_US
dc.subjectAquifers -- Thailand -- Lopburien_US
dc.subjectAquifers -- Thailand -- Phatthana Nikhom (Lopburi)en_US
dc.subjectGroundwater -- Qualityen_US
dc.subjectGroundwater -- Quality -- Thailanden_US
dc.subjectGroundwater -- Quality -- Thailand -- Lopburien_US
dc.subjectGroundwater -- Quality -- Thailand -- Phatthana Nikhom (Lopburi)en_US
dc.subjectGroundwater -- Pollutionen_US
dc.subjectGroundwater -- Pollution -- Thailanden_US
dc.subjectGroundwater -- Pollution -- Thailand -- Lopburien_US
dc.subjectGroundwater -- Pollution -- Thailand -- Phatthana Nikhom (Lopburi)en_US
dc.titleการประยุกต์ไอโซโทปเสถียรเพื่อประเมินการปนเปื้อนของไนเตรทใน น้ำบาดาล บริเวณอำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรีen_US
dc.title.alternativeApplication of stable isotopes to assess nitrate contamination of groundwater in Amphoe Phatthana Nikom, Changwat Lopburien_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorlertc77@yahoo.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattapat Karava.pdf7.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.