Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53508
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรเทพ เขียวหอม-
dc.contributor.authorสมศักดิ์ คงดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-10-11T15:10:44Z-
dc.date.available2017-10-11T15:10:44Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53508-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractวิธีการสังเคราะห์ข่ายงานการแลกเปลี่ยนมวลเพื่อนำไปใช้ในระบบบำบัดของเสียได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องโดยอ้างอิงแนวคิดในการวิเคราะห์จุดพินช์ (Pinch analysis) และการโปรแกรมทางคณิตศาสตร์ โดยในงานวิจัยส่วนใหญ่ที่ผ่านมาจะกำหนดสภาวะการดำเนินงานที่ทางเข้าข่ายงานไว้คงที่โดยไม่คิดความไม่แน่นอนต่างๆของกระบวนการส่งผลให้คำตอบที่ได้ไม่สอดคล้องกับระบบจริงในอุตสาหกรรม ดังนั้นเพื่อรองรับความไม่แน่นอนของกระบวนดังกล่าวงานวิจัยนี้จึงเสนอวิธีการสังเคราะห์ข่ายงานที่มีการคำนึงถึงความไม่แน่นอนของสภาวะการดำเนินงานที่ทางเข้าโดยใช้วิธีการออพติไมเซชันสองขั้นตอน (Two stages optimization) โดยงานวิจัยนี้จะพิจารณาหน่วยปฏิบัติการ 2 แบบคือ หอสกัดแบบชั้น (Tray extraction column) และหอสกัดแบบต่อเนื่อง (Pack extraction column) สำหรับกรณีศึกษาที่พิจารณา คือ 1) ข่ายงานในการสกัดไอออนโลหะทองแดงออกจากสายของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการ etching (copper recovery in an etching process ) และ 2) กระบวนการนำกลับฟีนอลที่เกิดขึ้นในกระบวนการแปรสภาพถ่านหิน (Removal/recovery of phenol from aqueous waste streams of a coal conversion plant) ผลจากการคำนวณพบว่ากรณีที่สัดส่วนโดยมวลมีการเปลี่ยนแปลงจะส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายของข่ายงานมากกว่าการเปลี่ยนแปลงของอัตราการไหลเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสัดส่วนโดยมวลมีแนวโน้มที่จะทำให้ปริมาณของสารที่ต้องถ่ายโอนมวลมีปริมาณมากขึ้นและเมื่อเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายของข่ายงานที่สังเคราะห์จากวิธีการที่เสนอในงานวิจัยนี้กับข่ายงานที่สังเคราะห์ได้จากงานวิจัยก่อนหน้าจะเห็นว่ากรณีที่ต้องรองรับความแปรปรวนเดียวกันแล้วข่ายงานที่สังเคราะห์โดยคำนึงถึงผลของความไม่แน่นอนจะมีค่าใช้จ่ายที่น้อยกว่าและรองรับกับความแปรปรวนที่เกิดขึ้นได้en_US
dc.description.abstractalternativeThe methods to synthesize a mass exchanger network (MEN) implemented in waste treatment system have been continuously developing by using the concept of pinch analysis and mathematical programming. In most of previous researches, input streams with constant conditions have been considered by neglecting process uncertainties. Unfortunately, the solutions obtained may not reflect the real plant conditions. In order to handle the process uncertainties in input streams, this work proposed the method to synthesize a mass exchanger network with input stream uncertainty consideration by using two stage optimization. We consider two type of unit operation including tray and pack extraction columns. Two case studies: 1) copper recovery in an etching process, 2) recovery of phenol from aqueous waste streams of a coal conversion plant are used to illustrate our method. The results show that the composition variation affects the operation cost lager than the flow rate variation. Because, composition tends to increase a mass load to transfer in MEN. We compare total cost of MEN which synthesized by our method with MEN that of proposed in previous research. With the same level of uncertainty, the cost of our network is lower than that of proposed in previous research. Moreover the MEN obtained using our method can handle the given uncertainty.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.337-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการถ่ายเทมวลen_US
dc.subjectการจัดการของเสียen_US
dc.subjectการสกัด (เคมี)en_US
dc.subjectMass transferen_US
dc.subjectRefuse and refuse disposal; Salvage (Waste, etc.)en_US
dc.subjectExtraction (Chemistry)en_US
dc.titleการสังเคราะห์โครงข่ายการแลกเปลี่ยนมวลโดยคำนึงถึงความไม่แน่นอนen_US
dc.title.alternativeMass exchanger networks synthesis with uncertainty considerationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsoorathep.k@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.337-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
somsak_kh_front.pdf1.56 MBAdobe PDFView/Open
somsak_kh_ch1.pdf522.29 kBAdobe PDFView/Open
somsak_kh_ch2.pdf430.45 kBAdobe PDFView/Open
somsak_kh_ch3.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open
somsak_kh_ch4.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open
somsak_kh_ch5.pdf244.98 kBAdobe PDFView/Open
somsak_kh_back.pdf2.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.