Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53598
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์-
dc.contributor.advisorAydin, Atilla-
dc.contributor.authorวิชาณี มณีโลกย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialสหรัฐอเมริกา-
dc.date.accessioned2017-10-25T08:59:31Z-
dc.date.available2017-10-25T08:59:31Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53598-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractหินโผล่ของหมวดหินมอนเทอเรย์ (The Monterey Formation) บริเวณด้านตะวันตกเฉียงใต้ ของชายฝั่งแคลิฟอร์เนียปรากฏลักษณะของรอยแตกและลักษณะทางธรณีวิทยาโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง ในหลายระดับ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการแปรสัณฐานทางธรณีวิทยายุคนีโอซีน ในกระบวนการมุดตัว ของแผ่นเปลือกโลกฟาราลอนใต้แผ่นเปลือกโลกอเมริกาเหนือ วิวัฒนาการของชั้นหินคดโค้งและรอย เลื่อนย้อนมุมต่ำตะวันตกและวิวัฒนาการของระบบรอยเลื่อนแบบขวาเข้าซานแอนเดรียส นอกจากนี้ ยังมีลักษณะเป็นชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียมและเส้นทางการเคลื่อนที่ของของไหลที่สำคัญอีกด้วย จากการสำรวจภาคสนามและเก็บข้อมูลของรอยแตกและลักษณะทางธรณีวิทยาโครงสร้างอื่น ที่พบในระดับกลาง (Mesoscopic scale) บริเวณหินโผล่หน้าผาตลอดแนวชายหาดอาร์โรโยเบอร์โร เป็นระยะทาง 2 กิโลเมตร รวมทั้งการบันทึกข้อมูลและวิเคราะห์รอยแตกโดยอาศัยภาพถ่ายและ การกำหนดตำแหน่งข้อมูลในตาข่ายมิติสเตอริโอกราฟิกชนิดพื้นที่เท่าและแผนภาพกุหลาบ สามารถ สรุปผลได้ดังนี้ (1) หินโผล่ในพื้นที่ศึกษาปรากฏลักษณะรอยแตกที่มีความสัมพันธ์กัน 6 ประเภท ได้แก่ รอยแตกที่ตั้งฉากกับชั้นหิน รอยแตกในแนวดิ่ง รอยแตกในแนวระดับ รอยเลื่อนย้อน รอยเลื่อนปกติ และรอยเลื่อนตามแนวระดับ (2) มีแรงหลักมากระทำแบบบีบอัดในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตก เฉียงใต้ ซึ่งสัมพันธ์กับลักษณะธรณีแปรสัณฐานของพื้นที่ (3) รอยแตกมีความสัมพันธ์หลักกับการเกิด ชั้นหินคดโค้งและรอยเลื่อนย้อนมุมต่ำและมีความสัมพันธ์รองกับการเกิดรอยแตกเฉือน (4) มีลำดับขั้น กลไกการเกิดและวิวัฒนาการของรอยแตก 4 ลำดับขั้นได้แก่ ลำดับขั้นการสะสมตัว ลำดับขั้น การดึง ออก ลำดับขั้นการเฉือนและการบีบอัด และลำดับขั้นการบีบอัดen_US
dc.description.abstractalternativeOutcrops of the Monterey Formation at the southwestern coastal California display the abundance of complex fractures and related structural features at many scales. Those fractures and structural features are related to the Neocene tectonic activities; subduction of the Farallon microplate under the North America plate, the evolution of Western Transverse folds and thrust faults and development of San Andreas transtentional dextral system. Moreover, they also display as high permeability reservoirs and major conduits for fluid transportation. Using field observation and collecting attitude of fractures and related structural features in mesoscopic scale along 2-km-long cliff-face exposures at Arroyo Burro beach with structures mapping and several software packages (Stereonet and Rose diagram), I deciphered fracture system and relationship with the structural mechanism. I find that (1) There are 6 types of fractures displayed; bed-perpendicular fractures, vertical fractures, sub-horizontal fractures, thrust faults, normal faults and strike-slip faults (2) Major compression force occur in NE-SW direction (3) Fractures have major relationship with fold and thrust faults and minor relationship with shear fractures (4) There are 4 structural mechanisms and evolution stages; deposition, tension, shear and compression and compression.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1425-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหมวดหิน -- สหรัฐอเมริกาen_US
dc.subjectธรณีวิทยาโครงสร้าง -- สหรัฐอเมริกาen_US
dc.subjectรอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- สหรัฐอเมริกาen_US
dc.subjectFormations (Geology) -- United Statesen_US
dc.subjectGeology, Structural -- United Statesen_US
dc.subjectFaults (Geology) -- United Statesen_US
dc.titleระบบรอยแตกของระบบรอยแตกของหมวดหินมอนเทอเรย์ บริเวณหาดอาร์โรโยเบอร์โร สหรัฐอเมริกาบริเวณหาดอาร์โรโยเบอร์โร สหรัฐอเมริกาen_US
dc.title.alternativeFracture system of the monterey formation at arroyo burro beach, USAen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorpitsanupong.k@hotmail.com-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1425-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5432733423_Wichanee Maneelok.pdf4.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.