Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53610
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิยพงษ์ เชนร้าย | - |
dc.contributor.author | สุวัฒน์ มรรคเจริญ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | แอ่งเกรทเซาท์ (นิวซีแลนด์) | - |
dc.coverage.spatial | นิวซีแลนด์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-10-27T06:48:16Z | - |
dc.date.available | 2017-10-27T06:48:16Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53610 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา .... คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 | en_US |
dc.description.abstract | ระบบรอยเลื่อนหลายเหลี่ยมสามารถพบได้ในแอ่งตะกอนต่าง ๆ ทั่วโลก โดยทั่วไปมักจะพบในแอ่งตะกอนตามขอบแผ่นเปลือกโลกสงบ รอยเลื่อนหลายเหลี่ยมเป็นกลุ่มของรอยเลื่อนปกติที่ไม่สัมพันธ์กับกิจกรรมทางธรณีแปรสัณฐาน เกิดอยู่ในชั้นหินตะกอนละเอียด เช่น หินโคลน หินดินดาน เป็นต้น ในระหว่างการก่อตัวของหินตะกอนละเอียดการหดตัวและการคายน้ำออกจากช่องว่างระหว่างตะกอนจะนำไปสู่การเกิดรอยแตกและเกิดการเลื่อนตัว รอยเลื่อนหลายเหลี่ยมในแอ่งตะกอนเกรทเซาท์ ประเทศนิวซีแลนด์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบจากลักษณะที่สังเกตุในแนวตัดขวางและแนวราบ รูปแบบที่ 1 รอยเลื่อนหลายเหลี่ยมมีลักษณะเป็นกลุ่มของรอยเลื่อนปกติมีทิศทางเอียงเทเข้าหากันเป็นรอยเลื่อนคู่ เมื่อสังเกตในแนวราบพบว่ามีลักษณะเป็นรูปปิดคล้ายดินแตกระแหงพบทางตอนใต้ของพื้นที่การศึกษา กินพื้นที่ประมาณ 200 ตารางกิโลเมตร โดนพบที่ความลึก 1200-1800 มิลลิวินาที ซึ่งเกิดในชั้นหินที่มีอายุในสมัยอีโอซีนมีลักษณะตะกอนเป็น หินโคลน, หินดินดาน และ ดินเหนียวปนปูน จากการสร้างแผนภาพกุหลาบพบว่ารอยเลื่อนหลายเหลี่ยมมีทิศทางการวางตัวหลากหลายทิศทาง รูปแบบที่ 2 รอยเลื่อนหลายเหลี่ยมมีลักษณะเป็นกลุ่มของรอยเลื่อนปกติและเป็นรูปปิดในแนวราบเช่นกัน แต่ความหนาแน่นของรอยเลื่อนหลายเหลี่ยมรูปแบบที่ 2 มีมากกว่ารูปแบบที่ 1 รอยเลื่อนชนิดที่2 พบทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่การศึกษากินพื้นที่ประมาณ 600 ตารางกิโลเมตร ที่ความลึก 1200-1500 มิลลิวินาที เกิดในชั้นหินที่มีอายุในช่วงกลางถึงปลายของสมัยอีโอซีนมีลักษณะตะกอนเป็น หินโคลน และ ดินเหนียวปนปูน ผลจากการสร้างแผนภาพกุหลาบรอยเลื่อนหลายเหลี่ยมมีทิศทางการวางตัวหลายทิศทาง ผลจากการสร้างกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะเลื่อนตัวในแนวดิ่งกับความลึกของรอยเลื่อนทั่งสองรูปแบบพบลักษณะซีบ่งบอกถึงตำแหน่งของระยะเลื่อนตัวในแนวดิ่งที่มากที่สุดอยู่บริเวณกึ่งกลางความลึกของรอยเลื่อน และลักษณะกราฟรูปเอ็มบ่งบอกถึงการเชื่อมต่อกันของรอยเลื่อน รอยเลื่อนหลายเหลี่ยมในชั้นหินตะกอนละเอียดอาจจะส่งผลต่อความสามารถของชั้นหินปิดกั้นซึ่งสำคัญต่อการพิจารณาระบบปิโตเลียม การศึกษาเพิ่มเติมอาจจะทำเกิดความเข้าในเชิงลึกของระบบปิโตเลียมมากขึ้น | en_US |
dc.description.abstractalternative | Polygonal fault system was found in many sedimentary basins around the world. It was commonly found in sedimentary basin along Passive margin. Polygonal fault is group of the normal fault networks which not relate to tectonic activity. It was commonly found in fine grain sediment such as claystone and shale. In the origin of fine-grain sedimentary rock, contraction and dewatering are the main processes that trigger the fractures and faults. Polygonal faults in Great South basin, New Zealand, are classified into two patterns base on time slice and cross section view. The first type is a group of normal faults dipping inward as conjugate faults. Observing in horizontal view, its characteristic resembles mud crack. This pattern is found in the Southern of the study area covering 200 km2 at time depth 1200-1800ms which is Eocene rock unit. Eocene rock unit is characterized by mudstone, shale, and marl. From rose diagram, polygonal fault planes arrange their strike in multidirectional. Another type of polygonal fault observing in horizontal view is also orthogonal geometry of normal faults. This type has more density of polygonal faults than the first type and is found in the North-Eastern of the study area covering 600 km2 at time depth 1200-1500ms which is Mid - Late Eocene rock unit. This rock unit is characterized by mudstone and marl. From rose diagram, the polygonal faults also arrange in multidirectional. The plot of the vertical fault throw and the depth of faults can be divided into two shape, C shape and M type. C shape indicates that the maximum fault throw is in the middle of the fault depth and the M-shape indicates the linkage of the faults. The existing of the polygonal fault in the fine grain sedimentary rock may result in the capability of the seal rock in the petroleum system which is important to the petroleum field. Further study is needed to get more information of petroleum system in the area. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เขตรอยเลื่อน | en_US |
dc.subject | เขตรอยเลื่อน -- นิวซีแลนด์ | en_US |
dc.subject | เขตรอยเลื่อน -- แอ่งเกรทเซาท์ (นิวซีแลนด์) | en_US |
dc.subject | รอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) | en_US |
dc.subject | รอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- นิวซีแลนด์ | en_US |
dc.subject | รอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- แอ่งเกรทเซาท์ (นิวซีแลนด์) | en_US |
dc.subject | แอ่งตะกอน | en_US |
dc.subject | แอ่งตะกอน -- นิวซีแลนด์ | en_US |
dc.subject | แอ่งตะกอน -- แอ่งเกรทเซาท์ (นิวซีแลนด์) | en_US |
dc.subject | ธรณีวิทยาโครงสร้าง | en_US |
dc.subject | ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- นิวซีแลนด์ | en_US |
dc.subject | ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- แอ่งเกรทเซาท์ (นิวซีแลนด์) | en_US |
dc.subject | Fault zones | en_US |
dc.subject | Fault zones -- New Zealand | en_US |
dc.subject | Fault zones -- Great South Basin (New Zealand) | en_US |
dc.subject | Faults (Geology) | en_US |
dc.subject | Faults (Geology) -- New Zealand | en_US |
dc.subject | Faults (Geology) -- Great South Basin (New Zealand) | en_US |
dc.subject | Sedimentary basins | en_US |
dc.subject | Sedimentary basins -- New Zealand | en_US |
dc.subject | Sedimentary basins -- Great South Basin (New Zealand) | en_US |
dc.subject | Geology, Structural | en_US |
dc.subject | Geology, Structural -- New Zealand | en_US |
dc.subject | Geology, Structural -- Great South Basin (New Zealand) | en_US |
dc.title | ระบบรอยเลื่อนหลายเหลี่ยมในแอ่งเกรทเซาท์ ประเทศนิวซีแลนด์ | en_US |
dc.title.alternative | Polygonal fault system in Great South Basin, New Zealand | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | piyaphong_c@hotmail.com | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suwat Makjareun.pdf | 4.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.