Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53612
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสกลวรรณ ชาวไชย-
dc.contributor.authorวชิรศรี สุวรรณสุโข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialอุทัยธานี-
dc.date.accessioned2017-10-27T11:13:04Z-
dc.date.available2017-10-27T11:13:04Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53612-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559en_US
dc.description.abstractปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกนิยมนำหินงอกมาศึกษาด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและ สภาพภูมิอากาศบรรพกาล แต่สำหรับในประเทศไทยมีการศึกษาด้านนี้ไม่แพร่หลายนัก โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพ (สีและจำนวนชั้น) และการเปลี่ยนแปลงไอโซโทปคาร์บอน (13C) และออกซิเจน (18O) ของชั้นการเจริญเติบโตของหินงอก เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในการสะสมตัวของหินงอกใน บริเวณพื้นที่ศึกษา โดยใช้ตัวอย่างหินงอก KPC-01 จากถ้ำเขาแพร อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี ความยาว 20.5 เซนติเมตร ตัดแบ่งออกเป็น 2 ส่วนตามแนวยาว ส่วนแรกนำไปขัดมันเพื่อศึกษาสีและนับจำนวนชั้นการเจริญเติบโตโดยใช้เทคโนโลยีสมาร์ทเลนส์กำลังขยาย x20 ส่วนที่สองนำไปเจาะตามชั้นการเจริญเติบโตทุกๆ 2 มิลลิเมตร และนำผงจากการเจาะไปวิเคราะห์ไอโซโทปคาร์บอนและออกซิเจนด้วยเครื่อง IR-MS ผลการนับจานวนชั้นการเจริญเติบโตของตัวอย่างหินงอกข้างต้นพบว่ามีทั้งหมด 761 ชั้น มีค่าไอโซโทปคาร์บอน (13C) อยู่ระหว่าง -12.31 ถึง -5.86 เปอร์มิลล์ และมีค่าไอโซโทปออกซิเจน (18O) อยู่ระหว่าง -12.07 ถึง -6.56 เปอร์มิลล์ จากการหาอายุเบื้องต้นของหินงอกด้วยวิธีการหาอายุยูเรเนียม – ทอเรียม โดยสกลวรรณ ชาวไชย (รอตีพิมพ์) พบว่าหินงอกมีอายุอยู่ในช่วง 2000 ปี บริเวณ 0.5 มิลลิเมตรจากด้านบนของหินงอกมีอายุอยู่ในปี ค.ศ. 1929-1952 โดยประมาณ จากการวิเคราะห์สามารถสรุปได้ว่าสีของหินงอกมีความสัมพันธ์กับค่าไอโซโทปออกซิเจน ส่วนค่าไอโซโทปคาร์บอนบ่งบอกถึงสภาพแวดล้อมเหนือถ้าที่ถูกปกคลุมด้วยพืชตระกูล C3 สำหรับค่าไอโซโทปออกซิเจนในโครงงานนี้บ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้าฝน ซึ่งมีแนวโน้มลดลงอย่างเห็นได้ชัดตั้งแต่ปี ค.ศ. 1040 - ค.ศ. 1940 โดยการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำฝนในบริเวณพื้นที่ศึกษาคาดว่าได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ แต่อย่างไรก็ตาม โครงงานนี้แสดงให้เห็นว่าหินงอกในประเทศไทยมีความเหมาะสมสำหรับนำไปศึกษาในด้านสภาพแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศบรรพกาลen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, stalagmite is one of the most popular proxies that are used for study about paleoenvironment and paleoclimate by scientist around the world although this study is not widespread in Thailand. The purpose of this project is to study physical properties (colors and numbers of layers), variation of carbon isotope (13C), and oxygen isotope (18O) in the growth layer of stalagmite to find the relationship between these factors and stalagmite’s depositional environment changes in the study area. The sample, KPC-01, which was collected from Kao Prae cave, Ban Rai district, Uthai Thani, is 20.5 cm long. The sample was divided into two parts along the longitudinal section. The first section was polished to examine the color and to count growth layers by using Chula smart-lens technology. The second section was drilled along the growth layer every 2 mm. Then, they were crushed into powder and were sent to analyze the carbon and oxygen isotope by IR-MS. The result shows that there are total 761 growth layers in the sample. The carbon and oxygen isotope are ranging from -12.31 to -5.86 ‰ and -12.07 to -6.56 ‰ respectively. The geochronology from U-Th dating by Chawchai (in press) indicates that records from the sample can represent back to c. 2,000 yr. BP. In addition, at 0.5 mm from the top of the sample is dated as 1929-1952 AD. It can be concluded that the stalagmite color is related to oxygen isotope. Carbon isotope indicates C3 vegetation above the cave. Moreover, oxygen isotope indicates the variation of rainfall which tends to decrease from 1040 – 1940 AD. The variation of rainfall in the study area is under the influence of the Northwest monsoon. So, stalagmites in Thailand are highly recommended for further study on paleoenvironment and paleoclimate.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคาร์บอน -- ไอโซโทปen_US
dc.subjectออกซิเจน -- ไอโซโทปen_US
dc.subjectหินงอกหินย้อย -- ไทย -- อุทัยธานีen_US
dc.subjectCarbon -- Isotopesen_US
dc.subjectOxygen -- Isotopesen_US
dc.subjectStalactites and stalagmites -- Thailand -- Uthai thanien_US
dc.titleไอโซโทปคาร์บอนและออกซิเจนของหินงอก บริเวณอำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานีen_US
dc.title.alternativeCarbon and oxygen isotope of stalagmite in Amphoe Banrai, Changwat Uthai thanien_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorsakonvan.c@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wachirasee Suwansukho.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.