Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5387
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วันพร ปั้นเก่า | - |
dc.contributor.author | ดวงกมล จุลกะเศียน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-01-09T10:14:01Z | - |
dc.date.available | 2008-01-09T10:14:01Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.isbn | 9741300824 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5387 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | en |
dc.description.abstract | พัฒนาระบบสนับสนุนในการวิเคราะห์ภูมิประเทศ เพื่อหาเส้นทางการเคลื่อนที่ของกำลังทหาร จากที่ตั้งฝ่ายเราไปยังบริเวณที่ตั้งของข้าศึก โดยใช้ข้อมูลและปัจจัยพื้นฐานของกองทัพบก จากเหล่าทหารม้าและทหารราบเป็นหลัก ประกอบกับข้อมูลทางด้านแผนที่ดิจิตอลจากกรมแผนที่ทหารเป็นกรณีศึกษา ผู้วิจัยได้ออกแบบระบบโดยอาศัยข้อมูล จากการศึกษาวิธีวิเคราะห์ภูมิประเทศ เพื่อหาเส้นทางในการเคลื่อนที่ของกองกำลังทหารในพื้นที่ปฏิบัติการ ออกเป็น 7 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนแรกเป็นการจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่ ข้อมูลประเภทเหล่า ขนาดของกองกำลังทหารและภาพสัญลักษณ์ ขั้นตอนที่สอง เป็นการจัดเตรียมข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ ได้แก่ ข้อมูลรายละเอียดประกอบแผนที่ ซึ่งเป็นข้อมูลเพื่อประกอบการอ่านแผนที่ดิจิตอล และข้อมูลหลักการเดินทัพ เป็นต้น ขั้นตอนที่สาม เป็นขั้นตอนการนำข้อมูลการรบเข้าสู่ระบบ ได้แก่ ประเภทของเหล่ากำลังรบ ขนาดของกองกำลังทหาร และตำแหน่งในการวางกำลัง ซึ่งเป็นข้อมูลหลักที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์หาเส้นทางการเคลื่อนที่ ขั้นตอนที่สี่ เป็นการแสดงภาพการวางกำลัง ของกองกำลังทหารภาพพื้นที่ผ่านได้ยาก พื้นที่ผ่านได้ช้า ภายในขอบเขตพื้นที่ปฏิบัติการ โดยอาศัยข้อมูลของภาพแผนที่ดิจิตอลในแต่ละชั้น ได้แก่ ชั้นของพื้นที่บริเวณป่าไม้ ชั้นของแม่น้ำ ทะเล เป็นต้น มาวิเคราะห์เพื่อแสดงภาพพื้นที่ออกเป็นสีต่างๆ ตามหลักเกณฑ์ทางทหาร ขั้นตอนที่ห้า เป็นขั้นตอนที่สร้างช่องทางการเคลื่อนที่ ภายในขอบเขตของพื้นที่ปฏิบัติการบนภาพแผนที่ดิจิตอล ขั้นตอนที่หก เป็นการวิเคราะห์และแสดงเส้นทางการเคลื่อนที่ที่เป็นไปได้ จากช่องทางการเคลื่อนที่ที่สร้างขึ้นมาในขั้นตอนที่ห้า เพื่อให้ผู้บังคับหน่วยเลือกเส้นทางในการเดินทัพที่ดีที่สุด และขั้นตอนสุดท้ายเป็นการปรับปรุงข้อมูลจากการลาดตระเวน เพื่อให้สภาพพื้นที่บริเวณที่ทำการรบในแผนที่ใกล้เคียงกับ สภาพที่เป็นจริงมากที่สุด จึงได้ออกแบบมาให้สามารถปรับปรุงข้อมูลของฐานข้อมูล ที่ได้จากแผนที่ดิจิตอลโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการลาดตระเวน จากนั้นผู้วิจัยได้นำผลของการออกแบบทั้งหมด มาพัฒนาบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรม Microsoft SQL Server 7.0 จัดเก็บข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ภูมิประเทศ และโปรแกรม Visual Basic 6.0 รวมทั้ง MapObjects 2.0a เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบ จากการทดสอบการทำงานพบว่า ระบบสามารถแสดงช่องทางการเคลื่อนที่ได้ 3 ช่องทาง แต่ละช่องทางสามารถแสดงเส้นทางการเคลื่อนที่ได้ 2 เส้นทาง ได้ตามวัตถุประสงค์ พร้อมทั้งคำนวณระยะทางของแต่ละเส้นทางให้ด้วย การวิจัยนี้คงจะเป็นประโยชน์ที่จะใช้สนับสนุนการวางแผนการรบให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น | en |
dc.description.abstractalternative | To develop a support system of terrain analysis for determining the avenues of approach to the enemy area by using the common data of the cavalry and infantry including the digital map of the Survey Department as the database for studies. The researcher designs the system by using the data derived from the study the terrain analysis to determine the avenues of approach in the operation area. The system is divided into 7 phases which are : the preparation of data to be the database and the concerned data in terrain analysis in second phase for example the detailed information of the map and principles of the advancement. The third phase is the process of filing of disposition of units which leads to the integration of combat information, type of units, sizes and positions, into the system. The fourth phase is the illustration of the operation areas which shows the layout of unit dispositions, the boundary and outlook of the No-Go, Slow-Go terrain. The fifth phase shows the avenues and corridors which the system will create the corridors within the areas of operation. The sixth phase is the illustration of the possible avenues of approach from the corridors which received from the previous phase. This will help the unit's commander to select the best avenue of approach. The last phase is the developing of data used for analysis which are the disposition data and the data collecting from the reconnoissance to conform with the real situation. The researcher brings all the designs to develop the system on the microcomputer by using Microsoft SQL Server 7.0 to compile all the data concerned for terrain analysis and Visual Basic 6.0 Program including MapObjects 2.0a as the tools in developing the system. The testing of the system function finds that it can analyze all the data concerned by illustrating the corridors and avenues of approach on the overlay for determining of the unit advancement according to goal. This research will beneficial in assisting the planning process in combat situation more effectively | en |
dc.format.extent | 4006474 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การพัฒนาระบบสนับสนุนการวิเคราะห์ภูมิประเทศ เพื่อหาเส้นทางในการเดินทัพของกองกำลังทหาร | en |
dc.title.alternative | A development support system of terrain analysis for determining avenues of approach of an army force | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Doungkamol.pdf | 3.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.