Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/544
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุดมลักษณ์ กุลพิจิตร-
dc.contributor.authorดุจเดือน จิรานนท์, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-27T08:21:29Z-
dc.date.available2006-06-27T08:21:29Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745321044-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/544-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้สมุดภาพอิเล็กทรอนิกส์ที่มีความพร้อมทางการอ่านด้านความเข้าใจเรื่องจากภาพ ความเข้าใจในการฟัง และความสามารถในการรู้คำศัพท์ของเด็กอนุบาล ตัวอย่างประชากร คือ เด็กอนุบาลอายุ 5 ถึง 6 ปี จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบทดสอบความพร้อมทางการอ่านของเด็กอนุบาล และแบบทดสอบความพร้อมทางการอ่านของเด็กอนุบาลฉับคู่ขนาน ผลกการวิจัยพบว่า 1. ความพร้อมทางการอ่านของเด็กอนุบาลที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สมุดภาพอิเล็กทรอนิกส์ สูงกว่าความพร้อมทางการอ่านของเด็กอนุบาลที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยวิธีปกติ ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .01 2. ความเข้าใจเรื่องจากภาพ ความเข้าใจในการฟัง และความสามารถในการู้จักคำศัพท์ของเด็กอนุบาลได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สมุดภาพอิเล็กทรอนิกส์ สูงกว่าเด็กอนุบาลที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยวิธีปกติ ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .01 3. ความพร้อมทางการอ่านของเด็กอนุบาลที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สมุดภาพอิเล็กทรอนิกส์หลังการจัดการเรียนการสอนสูงกว่า ก่อนการจัดการเรียนการสอน ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .01 4. ความพร้อมทางการอ่านด้านความเข้าใจเรื่องจากภาพ ความเข้าใจในการฟัง และความสามารถในการรู้จักคำศัพท์ ของเด็กอนุบาลที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สมุดภาพอิเล็กทรอนิกส์ หลังการจัดการเรียนการสอน สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนการสอน ที่รับความมีนัยสำคัญ .01en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to study the effects of using electronic books on reading readiness in understanding story from pictures, understanding of story listening, and ability in knowing vocabularies of kindergarteners. The research samples were 22 children at the age of five to six. The material used were reading readiness test and the parallel version of reading readiness. The research findings were as follows: 1. Reading readiness of kindergarteners learnt by using electronic books was significantly higher than kindergarteners learnt by using story books at the level of .01 2. Understanding story from pictures, understanding of story listening, and ability in knowing vocabularies of kindergarteners learnt by using electronic books were significantly higher than kindergarteners learnt by using story books at the level of .o1 3. Reading readiness of kindergarteners learnt by using electronic books was significantly higher than before at the level of .01 4. Reading readiness in understanding story from pictures, understanding of story listening, and ability in knowing vocabularies of kindergarteners learnt by using electronic books were significantly higher than before at the level of .o1.en
dc.format.extent3770070 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.989-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหนังสืออิเล็กทรอนิกส์en
dc.subjectความพร้อมในการอ่านen
dc.subjectการศึกษาขั้นก่อนประถมen
dc.subjectคอมพิวเตอร์กับเด็กen
dc.titleผลของการใช้สมุดภาพอิเล็คทรอนิกส์ที่มีต่อความพร้อมทางการอ่านของเด็กอนุบาลen
dc.title.alternativeEffects of using electronic books on reading readiness of kindergartenersen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการศึกษาปฐมวัยen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorUdomluck.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.989-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Dujduan.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.