Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5481
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิตรา รู้กิจการพานิช | - |
dc.contributor.author | อรรถพล ปิ่นโภคินทร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-01-16T04:02:23Z | - |
dc.date.available | 2008-01-16T04:02:23Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.isbn | 9741302606 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5481 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | en |
dc.description.abstract | โรงงานผลิตรถยนต์ตัวอย่างได้ประสพปัญหาเกิดการหยุดผลิตช่วงหน้าหนาวทุกปีโดยเฉลี่ยปีละ 290 นาที เพราะว่ากระบวนการปรับอากาศสำหรับห้องพ่นสีไม่สามารถที่จะทำการปรับอากาศที่จะส่งไปให้ห้องพ่นสีมีสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิต ถ้าไม่หยุดผลิตชิ้นงานก็จะเกิดความเสียหาย ผู้บริหารโรงงานจึงต้องการที่จะกำจัดปัญหานี้โดยต้องมีการใช้งบประมาณที่เหมาะสมต่อสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน ดังนั้นโครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและปรับปรุงระบบควบคุมระบบปรับอากาศของห้องพ่นสีขั้นสุดท้ายของโรงงานประกอบรถยนต์ตัวอย่างให้สามารถทำการปรับอากาศให้อยู่ในค่าที่กำหนดได้เพื่อลดการหยุดผลิตของห้องพ่นสีโรงงานประกอบรถยนต์ตัวอย่าง จากการศึกษาพบว่าการที่กระบวนการปรับอากาศไม่สามารถปรับอากาศให้ได้ตามมาตรฐานของการพ่นสีเพราะว่าในช่วงหน้าหนาวอากาศภายนอกจะมีความแปรปรวนเลยขีดจำกัดความสามารถของกระบวนการตามที่ได้ออกแบบไว้ถ้าต้องการให้กระบวนการทำงานได้จะต้องใช้พลังงานเพิ่มขึ้นนั่นคือต้องมีการติดตั้งหม้อไอน้ำเพิ่มขึ้น แต่การติดตั้งหม้อไอน้ำต้องใช้เงินลงทุนสูง และมีค่าใช้จ่ายในการเดินเครื่องจักรสูง ไม่เหมาะต่อการลงทุน ดังนั้นการแก้ปัญหาจึงมุ่งมาที่ระบบการควบคุม ซึ่งแต่เดิมใช้การควบคุมแบบ PROPORTIONAL INTEGRAL DERIVATIVE (PID) มีข้อดีคือสามารถที่จะควบคุมค่าตัวแปรกระบวนการ (PROCESS VARIABLE, PV) ให้มีความเสถียรได้ดี แต่มีข้อเสียคือไม่มีความยืดหยุ่นในการควบคุม ดังนั้นเมื่อเกิดความแปรปรวนภายนอกมากจึงทำให้ค่าตัวแปรกระบวนการออกนอกเขตที่ยอมรับได้ การแก้ไขโดยใช้ควบคุมที่มีความยืดหยุ่นแต่ต้องไม่ทำให้ความเสถียรของการควบคุมเสียไปคือการใช้การควบคุมแบบ FUZZY LOGIC ทำให้ช่วงของค่าเป้าหมายกว้างขึ้น และความสามารถของกระบวนการเพิ่มขึ้นด้วย โดยที่ค่าตัวแปรอยู่ในช่วงที่ยอมรับได้ การปรับปรุงระบบการควบคุมกระบวนการปรับอากาศนี้มีความคุ้มค่าต่อการลงทุนสูงเพราะใช้งบประมาณน้อยค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่ำ แต่สามารถช่วยลดการสูญเสียได้มาก ผลของการปรับปรุงคือไม่มีการหยุดผลิตจากกระบวนการปรับอากาศอีกเลย นอกจากนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์ในกับการควบคุมกระบวนการอื่นๆ ที่มีความต้องการคล้ายคลึงกัน เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานได้อีกด้วย | en |
dc.description.abstractalternative | The car assembly factory has long production stop about 290 minute every year on November to January of next year, because Air Supply Unit (ASU) has not make standard air condition for Spray Booth to set point. It effects to quality of painting on car body, and big loose of production. Management of car assembly factory would like to prevent production stop from this problem by minimizes budget. So objectives of this thesis is redesign and improve control system of Air Supply Unit for TopCoat Spray Booth. To make air condition in control limit to reduce down time. Cause of ASU has not make air condition for Spray Booth to set point is Enthalpy ambient on winter has lower capacity design limit. In this condition, ASU has wonted more energy from steam boiler to make air condition to set point. But new steam boiler is use high installation cost and high operation cost. So problem solving is focus to redesign and improvement ASU process controller. Before improvement ASU has used Proportion Integral Derivative(PID) controller, advantage is process control has high stabilization but inferior is unflexilibility. To solve this problem we has improve process control to Fuzzy Logic. It make wide set point range, so it effect to increase process capacity and energy saving. After improvement ASU process controller, down time from ASU in winter of year 2000 is 0 minute (from December 2000 to January 2001). Beside it can apply to other process control if process control has same as ASU process control improved. | en |
dc.format.extent | 10370440 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | โรงงาน -- การปรับอากาศ | en |
dc.title | การปรับปรุงระบบปรับอากาศสำหรับห้องพ่นสีของโรงงานผลิตรถยนต์ | en |
dc.title.alternative | The improvement of air supply unit for spray booth in car assembly factory | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | fieckp@eng.chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Attapol.pdf | 10.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.