Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55005
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญชัย แสงเพชรงาม | - |
dc.contributor.author | กีรติ เครือจันทร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-10-30T04:22:49Z | - |
dc.date.available | 2017-10-30T04:22:49Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55005 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559 | - |
dc.description.abstract | รถไฟเป็นระบบการขนส่งที่ต้องการการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานอย่างมาก ทั้งในด้านการก่อสร้างและการซ่อมบำรุงรักษา การบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานให้เกิดประโยชน์เต็มประสิทธิภาพในอนาคต จำเป็นที่จะต้องทราบ ต้นทุนและปัจจัยที่ส่งกระทบต่อต้นทุนเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการใช้ประโยชน์ เช่น การอุดหนุนจากภาครัฐ การคิดค่าใช้ทางจากผู้ประกอบการเดินรถ ในกรณีที่มีการแยกส่วนการบริหารจัดการระหว่างโครงสร้างพื้นฐานกับล้อเลื่อน สำหรับการศึกษาของงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาต้นทุนของค่าก่อสร้าง และค่าซ่อมบำรุงรักษา จากเส้นทางเดินรถของการรถไฟ 5 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทาง ชุมทางหนองปลาดุก – ราชบุรี เส้นทาง ชุมทางบัวใหญ่ – ขอนแก่น เส้นทาง ธนบุรี – ชุมทางตลิ่งชัน เส้นทาง นครราชสีมา – ชุมทางบัวใหญ่ และ เส้นทาง ลาดกระบัง – แหลมฉบัง จากการศึกษาพบว่า ค่าซ่อมบำรุงระบบอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในช่วง 1.3 ถึง 1.7 ล้านบาทต่อปีต่อสถานี และค่าซ่อมบำรุงทางรถไฟมีค่าซ่อมบำรุงทางรถไฟเฉลี่ยต่อปี อยู่ในช่วง 280,000 ถึง 310,000 บาทต่อหนึ่งทางต่อกิโลเมตร โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อค่าซ่อมบำรุงทาง คือ ความหนาแน่นการเดินรถ และ ค่าคุณภาพทาง และเมื่อเปรียบเทียบการซ่อมบำรุงรักษาที่น้ำหนักบรรทุกเท่ากัน พบว่าค่าซ่อมบำรุงทางรถไฟเป็นครึ่งหนึ่งของค่าซ่อมบำรุงถนน | - |
dc.description.abstractalternative | Rail transport system is one of transportation modes that demands investment budget on its infrastructure. To efficiently manage the rail infrastructure in future, it is necessary to clearly know the factors that affect construction cost and maintenance cost. The results of this research will give some factors that should be used to estimate the charge costs from the train operators, in case of separation between rail infrastructure and rolling stock. This study aims to study the cost of construction and maintenance for 5 sections of route: Nong Pladuk – Rat Cha Bu Ri, Bao Yai – Khon Kaen, Ton Bu Ri – Ta Ling Chun, Nakon Raj Si Ma – Bao Yai and Lard Kra Bang – Laem Cha Bung. This study found that the maintenance cost of the signaling system and telecommunications ranges from 1.3 to 1.7 million baht per year per station. The average annual maintenance cost of the railway track and bridges is 280,000 to 310,000 baht per track per kilometer. The density of traffic and the quality of track are the main factors that influence the maintenance cost. Moreover this research found that the maintenance cost of the railway is approximately half of road maintenance cost. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.930 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | ทางรถไฟ -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม | - |
dc.subject | Railroad rails | - |
dc.title | การวิเคราะห์โครงสร้างต้นทุนของการใช้ทางรถไฟระหว่างเมืองของประเทศไทย | - |
dc.title.alternative | Analysis of structure cost of intercity railway of Thailand | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | Boonchai.Sa@chula.ac.th,bsangpetngam@gmail.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2016.930 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5770124721.pdf | 5.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.