Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55042
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เฉลิมชนม์ สถิระพจน์ | - |
dc.contributor.author | ปวิตร ฏิระวณิชย์กุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-10-30T04:23:51Z | - |
dc.date.available | 2017-10-30T04:23:51Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55042 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559 | - |
dc.description.abstract | ดาวเทียมนำทางแต่ละเครื่องจะมีระบบเวลาเป็นส่วนของตัวเอง ส่วนของการประมวลผลค่าความแตกต่างพิกัดและเวลาความถูกต้องสูงของเวลาระบบและเวลาที่เครื่องรับสัญญาณดาวเทียบนำทาง ใช้การประมวลค่าที่ตัวเครื่องรับสัญญาณ งานวิจัยนี้เป็นการตรวจรับสัญญาณเวลาจากระบบดาวเทียมนำทางหลายระบบด้วยเครื่องรับสัญญาณที่เชื่อมต่อกับมาตรเวลาที่รักษาเป็นอย่างดีด้วยนาฬิกาอะตอมซีเซียมสมรรถนะสูงและเครื่องรับสัญญาณที่ใช้งานจากนาฬิกาที่อยู่ภายในเครื่อง การประมวลผลครั้งนี้เป็นการหาค่าพิกัดและค่าความแตกต่างของเวลาที่เครื่องรับสัญญาณเทียบกับเวลาระบบ อันประกอบด้วย เวลาระบบของระบบดาวเทียมนำทาง จีพีเอส โกลนาส และ เป๋ยโต่ว กระบวนการประมวลผลเป็นการกำหนดพิกัดรังวัดจุดเดี่ยวความแม่นยำสูงแบบสถิตย์ ด้วยโปรแกรมประมวลผลชื่อ แพนด้า ที่พัฒนาโดยศูนย์วิจัยระบบดาวเทียมนำทาง ของมหาวิทยาลัยวู่ฮั่น การวิจัยนี้มีเป้าหมายเพื่อหาค่าความแตกต่างของเวลาของระบบดาวเทียมนำทางแต่ละระบบ รวมถึง การหาจุดซ้ำซ้อนในระบบที่มีอยู่หลายแง่มุม วัตถุประสงค์คือการหาค่าพิกัดและค่าเวลาที่เครื่องรับสัญญาณเวลาภาคพื้นดิน โดยทำการวัดอย่างมีคุณภาพในเชิงสถิติ ทั้งในแง่ ค่าความถูกต้อง และ ค่าความแม่นยำ ผลจากการวิจัยครั้งนี้พบว่าค่าความถูกต้องของค่าพิกัดของข้อมูลการตรวจรับสัญญาณจากเครื่องรับสัญญาณที่อาศัยนาฬิกาภายในเครื่องรับและนอกเครื่องรับสัญญาณไม่ได้แสดงผลที่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (2 ถึง 5 เซนติเมตร) แม้เมื่อเปลี่ยนเวลาระบบอ้างอิงเป็น เวลาระบบของระบบดาวเทียมนำทาง จีพีเอส โกลนาส หรือ เป๋ยโต่ว ค่าเวลาของเวลาระบบดาวเทียม เป๋ยโต่ว มีค่าดีที่สุด (-1.76x10-8 วินาที) ทั้งนี้เป็นเพราะระบบดาวเทียม เป๋ยโต่ว ติดตั้งนาฬิกาอะตอมไฮโดรเจนเมเซอร์ที่มีความแม่นยำ (1x10-15 วินาทีต่อวินาที) และมีเสถียรภาพสูง (1x10-16 ที่ 1 วัน) .ในด้านความถูกต้องแม่นยำ ระบบจีพีเอสมีค่าความแม่นยำสูง (0.25 ถึง 0.40 มิลลิเมตร) ซึ่งระบบดาวเทียมนำทาง โกลนาสและ เป๋ยโต่วไม่สามารถบ่งชี้จุดแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในขณะทำการวิจัย (0.3 ถึง 1 มิลลิเมตร) จุดนี้สามารถนำมาวิจัยเพิ่มเติมในระบบอ้างอิงเวลาของสถานีภาคพื้นดิน | - |
dc.description.abstractalternative | Each navigation satellite operates its own system time. In precise positioning and timing determination, the time differences between each system time shall be determined at the receiver end. This research observed multi-GNSS signals from a receiver equipped with a well-kept time scale using a high performance caesium frequency standard and a receiver operated based on its internal oscillator. The positioning and receiver clock offsets are determined varied on difference time scales including GPS, GLONASS and BeiDou system time. The computation concept is static Precise Point Positioning (PPP) using PANDA software developed by GNSS research centre Wuhan University. This research is aimed to determine the time offsets of each satellite constellations as well as its system redundancy in many aspects. Objectives are to determine positioning and timing results at the ground receivers, where their qualities are measured statistically in terms of accuracy and precision. The results show that the positioning accuracy of observation data based on its internal oscillator and external clock do not show a significant (2 to 5 millimeter) differences when thereference time scales are altered to GPS, GLONASS nor BeiDou system times. It was found that the BeiDou system time were the most accurate (-1.76x10-8 second), in comparison to GPS or GLONASS system time scales. This is because of BeiDou satellite contains a high accuracy (1x10-15 second) and stability (1x10-16 at 1 day) of the satellite clocks, hydrogen maser. In term of precisions, the GPS system is highly precise where GLONASS and BeiDou system time could not distinguish the differences significantly during this experiment. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1011 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.title | การประเมินความถูกต้องทางตำแหน่งจากจีเอ็นเอสเอสในการถ่ายทอดเวลาด้วยวิธีการรังวัดจุดเดี่ยวความละเอียดสูง | - |
dc.title.alternative | Evaluation of GNSS positioning accuracy in time transfer using Precise Point Positioning Technique | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสำรวจ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | Chalermchon.S@Chula.ac.th,csatirapod@gmail.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2016.1011 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5770577321.pdf | 3.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.