Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55054
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประเสริฐ เรียบร้อยเจริญ-
dc.contributor.advisorลลิตา อัตนโถ-
dc.contributor.authorกชกร ขันอาสา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-10-30T04:24:15Z-
dc.date.available2017-10-30T04:24:15Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55054-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาภาวะที่เหมาะสมของการแตกตัวของน้ำมันปาล์มในเครื่องปฏิกรณ์แบบช่องจุลภาคโดยศึกษาผลของอุณหภูมิที่ในช่วง 400 ถึง 500 องศาเซลเซียส อัตราการไหลของน้ำมันปาล์มในช่วง 2 ถึง 6 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง บนตัวเร่งปฏิกิริยาอลูมิน่าและแมกนีเซียมออกไซด์ ในขั้นต้นได้มีศึกษาการไพโรไลซิสของน้ำมันปาล์มโดยไพโรไลซิสแก๊สโครมาโทกราฟ-แมสสเปคสเปคโทรมิเตอร์ โดยพบว่าเมื่อทำการเพิ่มอุณหภูมิจาก 400 ถึง 500 องศาเซลเซียส พบว่ามีปริมาณสารประกอบไฮโดรคาร์บอนสูงขึ้น ปริมาณไตรกลีเซอร์ไรด์ลดลง ในการเติมตัวเร่งปฏิกิริยาพบว่าการเติมตัวเร่งปฏิกิริยาแมกนีเซียมออกไซด์และตัวเร่งปฏิกิริยาอลูมิน่าสามารถเพิ่มปริมาณการแตกตัวของไตรกลีเซอร์ไรด์เมื่อเปรียบเทียบกับภาวะที่ไม่เติมตัวเร่งปฏิกิริยา ในส่วนของเครื่องปฏิกรณ์แบบช่องจุลภาค ในการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาจะมีการขึ้นรูปตัวเร่งปฏิกิริยาลงในพื้นผิวของเครื่องปฏิกรณ์จึงมีการทดสอบการยึดติดของตัวเร่งปฏิกิริยาโดยพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาแมกนีเซียมออกไซด์และอลูมิน่ามีการยึดติดกับพื้นผิวของเครื่องปฏิกรณ์ได้ดี เมื่อทำการรไพโรไลซิสโดยไม่เติมตัวเร่งปฏิกิริยา ที่ทุกอุณหภูมิที่ทำการทดลองมีร้อยละการเปลี่ยนแปลงของไตรกลีเซอร์ไรด์มากกว่าร้อยละ 99 เเต่อย่างไรก็ตามเมื่อเพิ่มอุณหภูมิมากเกินไปจะส่งผลต่อการสลายตัวของสารโมเลกุลใหญ่กลายเป็นเเก๊ส โดยอุณหภูมิที่เหมาะสม คือ 450 องศาเซลเซียส อัตราการไหล 2 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง ให้ร้อยละผลได้ของของเหลวร้อยละ 80.84 และร้อยละผลได้ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน 34.63 ในส่วนภาวะที่เติมตัวเร่งปฏิกิริยาพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาแมกนีเซียมที่น้ำหนัก 0.21 กรัม สามารถส่งเสริมการเกิดปฏิกิริยาดีคาร์บอกซิเลชั่นเเละปฏิกิริยาดีคาร์บอนิลเลชั่นให้ปริมาณสารประกอบไฮโดรคาร์บอนมากที่สุด โดยร้อยละผลได้ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนร้อยละ 42.91 ร้อยละผลได้ของของเหลวร้อยละ 85.79 นอกจากนี้ยังได้ทำการศึกษาการนำตัวเร่งปฏิกิริยาเเมกนีเซียมออกไซด์มาใช้ใหม่โดยพบว่า ส่งผลต่อประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ลดลงเนื่องจากของแข็งที่เกาะอยู่บนพื้นผิวของตัวเร่งปฏิกิริยา-
dc.description.abstractalternativeThe aim of this studying was to determine the optimal condition of palm oil pyrolysis over magnesium oxide (MgO) and alumina (Al2O3) catalyst in a microchannel reactor. The influence of operating variables reaction temperature 400 to 500 °C and mass of catalyst 0.1 to 0.3 grams was evaluated. Firstly, studying of palm oil pyrolysis in Pyrolysis-GC/MS were investigated. In case of non-catalytic pyrolysis, the result showed that increasing of reaction temperature had an effect on raising of hydrocarbon compound and decreasing of triglyceride. In case of using catalyst, MgO and Al2O3 were found that increased triglyceride cracking. In part of microchannel reactor, initial with catalyst was coated on surface of reactor. Adhesive catalyst on reactor surface was tested. Result showed that MgO and Al2O3 can be attached on the reactor surface. For non-catalytic pyrolysis, the result showed that reaction temperature had positive effect on hydrocarbon compound. However, the partly decomposition which led to the increasing of gas product was observe at high temperature. The optimal reaction temperature was 450 °C and flow rate of palm oil 2 ml/hr. This condition showed liquid yield 80.84 % and hydrocarbon compound yield 34.63 %. In catalytic pyrolysis, the higher hydrocarbon compound obtain when using MgO, due to the catalyst increased decarboxylation and decarbonylation reaction. The optimal reaction temperature was 450 °C and flow rate of palm oil 2 ml/hr. over 0.21 g magnesium oxide catalyst. This condition showed liquid yield 85.79 % and hydrocarbon compound yield 42.91 %. In addition, degenerateness of magnesium oxide was investigated. The catalyst showed lower potential, due to solid from pyrolysis cover on active site of catalyst.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.2-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleไพโรไลซิสของนํ้ามันปาล์มในเครื่องปฏิกรณ์แบบช่องจุลภาค-
dc.title.alternativePYROLYSIS OF PALM OIL IN MICROCHANNEL REACTOR-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิค-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorPrasert.R@Chula.ac.th,Prasert.R@Chula.ac.th,Prasert.R@Chula.ac.th-
dc.email.advisorlalita@tistr.or.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.2-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5771902823.pdf4.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.