Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55143
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรเทพ จันทราอุกฤษฎ์-
dc.contributor.advisorรสริน พลวัฒน์-
dc.contributor.authorหนึ่งฤทัย เกียรติพิมล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-10-30T04:27:36Z-
dc.date.available2017-10-30T04:27:36Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55143-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้น ที่มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาความสามารถในการสร้างแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนด้วยแนวคิดการสร้างตัวแทนความคิด และ 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยาหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยแนวคิดการสร้างตัวแทนความคิด กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ กรุงเทพมหานคร ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 27 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) แบบประเมินความสามารถในการสร้างแบบจำลองที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างผู้ประเมินเท่ากับ 0.89 และ 2) แบบสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยาที่มีความเที่ยงเท่ากับ 0.87 ค่าความยากอยู่ในช่วง 0.25-0.80 และค่าอำนาจจำแนกอยู่ในช่วง 0.20-0.65 และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเฉลี่ยร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) นักเรียนที่เรียนด้วยแนวคิดการสร้างตัวแทนความคิดมีความสามารถในการสร้างแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับดี คือ ร้อยละ 80.18 ซึ่งสูงกว่าร้อยละ 70 ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ และ 2) นักเรียนที่เรียนด้วยแนวคิดการสร้างตัวแทนความคิดมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับดี คือ ร้อยละ 70.49 ซึ่งต่ำกว่าร้อยละ 80 ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้-
dc.description.abstractalternativeThis study was a pre-experimental research. The purposes of this study were to 1) study the modeling ability of upper secondary school students who learned through the representation construction approach, and 2) study the biology learning achievement of upper secondary school students who learned through representation construction approach. The target group were 27 grade 12th students of an extra-large sized school in Bangkok who studied in first semester of the academic year 2016. The research instruments were 1) the scientific modeling ability evaluation form with rater agreement index at 0.89, and 2) the biology learning achievement test with reliability at 0.87, the level of difficulty between 0.25-0.80, and the level of discrimination between 0.20-0.65. The collected data were analyzed by arithmetic mean, mean of percentage and standard deviation. The research findings were summarized as follows: 1) The modeling ability of the students who learned through the representation construction approach was rated good level at the percentage of 80.18 with were higher than criterion set at percentage of 70 and 2) The biology learning achievement of the students who learned through the representation construction approach was rated good level at the percentage of 74.50 with were lower than criterion set at percentage of 80.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.263-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleผลของการใช้แนวคิดการสร้างตัวแทนความคิดที่มีต่อความสามารถในการสร้างแบบจำลองและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย-
dc.title.alternativeEFFECTS OF USING REPRESENTATION CONSTRUCTION APPROACH ON MODELING ABILITY AND LEARNING ACHIEVEMENT IN BIOLOGY OF UPPER SECONDARY SCHOOL STUDENTS-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการศึกษาวิทยาศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorPornthep.Ch@chula.ac.th,Pornthep.Ch@chula.ac.th-
dc.email.advisorrossarin.p@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.263-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5783454027.pdf7.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.