Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5520
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวนิดา จีนศาสตร์-
dc.contributor.authorสมานชัย เลิศกมลวิทย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-01-18T03:55:13Z-
dc.date.available2008-01-18T03:55:13Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9746658255-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5520-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractฝุ่นละออง PM2.5 PM10-2.5 และ PM10 ภายนอกป้อมตำรวจริมถนน ภายในป้อมตำรวจ และที่ตำรวจจราจรได้รับสัมผัส ในเขตกรุงเทพฯ: ดินแดง ปทุมวัน รามคำแหงและงามวงศ์วาน ในเขตชานเมือง: ตลาดคู้และประชาสำราญ และในเขตอยุธยา ถูกเก็บด้วยเครื่องเก็บตัวอย่างอากาศเฉพาะบุคคล ติดหัวแยกฝุ่นอิมแพคเตอร์ หาปริมาณด้วยเครื่องชั่งหกตำแหน่ง เมืองเปรียบเทียบค่าที่ได้กับเครื่องเก็บตัวอย่างอากาศ แบบเทปใช้รังสีเบต้าที่สถานเฝ้าระวังดินแดงของกรมควบคุมมลพิษ พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญ (r = 0.948, p = 0.004) PM10 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ภายนอกป้อมในเขตกรุงเทพฯ มีค่ามากกว่า 100 micro g/cubic m โดยเฉพาะที่ดินแดงและงามวงศ์วานมีค่าเกินมาตรฐานฝุ่นในบรรยากาศ (120 micro g/cubic m) ในขณะที่ฝุ่นละออง PM2.5 ในเขตกรุงเทพฯ ทั้งหมดมีค่าเกินมาตรฐานฝุ่นละอองในบรรยากาศที่ US EPA กำหนด (65 micro g/cubic m) ฝุ่น PM10 และ PM2.5 ภายในป้อมมีค่าน้อยกว่าภายนอกป้อม ในขณะที่ฝุ่นละอองที่บุคคลได้รับสัมผัสมีค่าอยู่ระหว่าง ฝุ่นละอองภายนอกป้อมและภายในป้อม การวิเคราะห์องค์ประกอบธาตุยืนยันว่า การจราจรเป็นแหล่งกำเนิดสำคัญสำหรับการศึกษาครั้งนี้ สำหรับสัดส่วนของฝุ่น PM2.5 ต่อ PM10 พบว่าไม่ขึ้นกับความเข้มข้นฝุ่นละออง แต่ความเป็นเมืองมีแนวโน้มทำให้สัดส่วนนี้ มีค่าสูงกว่าในต่างจังหวัด ซึ่งกรุงเทพฯ ค่าเฉลี่ยสัดส่วนนี้มีค่า 0.74 ส่วนหนองจอกเป็นชานเมืองกรุงเทพฯ มีค่า 0.65 ในขณะที่อยุธยา มีค่า 0.60 จากการวิเคราะห์หาสหสัมพันธ์ พบความสัมพันธ์ระหว่างฝุ่นภายนอกป้อม ฝุ่นภายในป้อมและฝุ่นที่บุคคลได้รับสัมผัส (p<0.05) สามารถหาสมการถดถอยเพื่อใช้ประมาณฝุ่นละอองภายในป้อม และที่บุคคลได้รับสัมผัสได้ โดยใช้ปริมาณฝุ่น PM10 ภายนอกป้อมเป็นตัวทำนายที่ดีที่สุด นอกจากนี้พบว่าปริมาณฝุ่นละอองที่ตรวจวัดได้ในบรรยากาศ แปรผันตามความชื้นสัมพัทธ์ในบรรยากาศ แต่แปรผกผันกับความเร็วลมสูงสุดen
dc.description.abstractalternativeThe outside, inside traffic police booth and personal exposure particulate matters: PM10, PM10-25 and PM2.5 in Bangkok sites: Dindaeng, Patumwan, Ramkumhaeng and Ngamwongwan, suburban sites: Talad Ku and Prachasamran and Ayutthaya sites were sampling with personal sampler attached impactor cascade heads and particulate concentrations were measured by gravimetric method using a microbalance. PM10 from co-located operation of the personal sample with beta-attenuation PM10 from PCD showed significantly correlation with r = 0.948, p = 0.004. The 24-hr. average PM10 of Bangkok sites was over 100 micro g/cubic m., (Dindaeng and Ngamwongwan's PM10 were exceeded the National Air Quality standard (120 micro g/cubic m)), while PM2.5 from all sites in Bangkok was exceeded the US EPA standard (65 micro g/cubic m). The inside booth PM10 and PM2.5 was less than outside's. The personal exposure PM10 and PM2.5 was between outside and inside booth concentration. The elemental analysis confirmed that mobile source and road dust was dominant sources in this study. Ratio between PM2.5 and PM10 was considerable vary among sites, the mean PM2.5 to PM10 ratio in Bangkok was 0.74, suburban was 0.65 and Ayutthaya was 0.60, which indicated that PM2.5 was dominated in urban area. The outside, inside booth and personal exposure PM concentration showed significantly correlation to each other (p<0.05). The outside booth PM10 was the most suitable predictor in estimating the inside booth and personal exposure PM10 and PM2.5 concentration.en
dc.format.extent1750566 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอนุภาค -- แง่สิ่งแวดล้อมen
dc.subjectฝุ่น -- แง่สิ่งแวดล้อมen
dc.subjectมลพิษทางอากาศen
dc.titleการหาปริมาณฝุ่นขนาดเล็ก (PM2.5, PM10-2.5, PM10) และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณฝุ่นในบรรยากาศ ภายในอาคารและฝุ่นที่บุคคลได้รับen
dc.title.alternativeSize selected particulate (PM2.5, PM10-2.5, PM10) monitoring and relationship among ambient, indoor and exposure concentrationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJwanida@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Samarnchai.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.