Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55227
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรจน์ เศรษฐบุตร-
dc.contributor.authorสิรีลักขณ์ วรรณธีระเดช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-10-30T04:31:46Z-
dc.date.available2017-10-30T04:31:46Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55227-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractการขยายตัวของอาคารประเภทต่างๆ ส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมเดิม โดยเฉพาะการเคลื่อนที่ของกระแสลมในพื้นที่ซึ่งมีอาคารสูงค่อนข้างมาก และทำให้เกิดปัญหาในเรื่องของการบดบังลมหรือการเกิดช่องลมแรง ส่งผลกระทบต่อผู้ใช้พื้นที่ งานวิจัยนี้จึงมุ่งประเด็นในเรื่องของการศึกษาผลกระทบของรูปทรงและทิศทางการวางอาคารต่อสภาพแวดล้อมเมืองหรือพื้นที่โดยรอบอาคาร ซึ่งงานวิจัยนี้มีขอบเขตการศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยแบ่งตามความหนาแน่นหรืออัตราส่วนพื้นที่ปกคลุมดิน 6 ระดับ (GCR10-60%) ผลการจำลองด้วยโปรแกรมการคำนวณพลศาสตร์ของไหล (CFD) พบว่า พื้นที่ซึ่งมีความหนาแน่นของพื้นที่คลุมดินมาก หรือ GCR 30-60% ได้รับผลกระทบจากการออกแบบและทิศทางการวางอาคารต่างๆค่อนข้างน้อย ในขณะที่การสร้างอาคารบางรูปแบบ บนพื้นที่ซึ่งมีความหนาแน่นของพื้นที่คลุมดินน้อย หรือ GCR 10-30% ทำให้เกิดลมแรงหรือเกิดพื้นที่อับลมมาก และเป็นบริเวณกว้าง พื้นที่กรณีศึกษา GCR = 60% และ GCR = 40% สามารถสร้างอาคารที่มีรูปแบบและทิศทางหลากหลายกว่าพื้นที่อื่นๆ ซึ่งหมายความว่าในสภาพแวดล้อมเมืองที่หนาแน่นอยู่แล้วอาคารใหม่ที่เพิ่มเติมเข้าไปจะไม่มีส่งผลกระทบต่อพื้นที่ข้างเคียงมากนัก เมื่อเทียบกับการตั้งอาคารใหม่ลงบนพื้นที่ข้างเคียงที่มีความหนาแน่นน้อย ผลการศึกษาได้นำมาสู่ การประเมินผลกระทบของกระแสลมต่อสภาพแวดล้อมเมือง สามารถพิจารณารูปแบบ และทิศทางการวางอาคารเบื้องต้นให้มีประสิทธิภาพในการใช้งานที่ดียิ่งขึ้น และส่งผลให้พื้นที่โดยรอบมีเปอร์เซ็นต์ acceptable period ของกระแสลมในปริมาณมาก และก่อผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมน้อยที่สุด โดยไม่เสียประโยชน์ด้านการใช้ที่ดิน รวมถึงสามารถลดขึ้นตอนการยื่นเสนอรายงาน และสร้างมาตรฐานในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะประเด็นด้านกระแสลม-
dc.description.abstractalternativeThe construction of a building inevitably changes the microclimate in its vicinity. In particular near high-rise buildings, high or low wind velocities are often introduced at pedestrian level that can be experienced as uncomfortable or even dangerous. Therefore, the design of building should not only focus on the building envelope and on providing good indoor environment, but should also include the effect of design on the outdoor environment or urban surrounding in Bangkok. The main purpose of this study is to reveal wind environment impact of building forms and orientations at pedestrian level on 6-level gross floor area (GCR) as 10-60% in Bangkok. This paper firstly presents results of CFD tests on 6 case study areas (200x200m) with 34 buildings, totally 204 case study. The results show low density area (GCR 10-30%) is effected from buildings more than high density area (GCR 40-60%). Secondary, The simulation results showed the suggestion building forms and orientations for each GCR-level and overall. The current study allows city planners and architects to improve the building porosity efficiently for better pedestrian-level urban ventilation. Without losing land used efficacy. Including, Suggestion assessment guideline for wind environment impact of buildings on urban surrounding for the standard of EIA report investigation.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1137-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleแนวทางการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านกระแสลมของอาคารต่อสภาพแวดล้อมเมือง-
dc.title.alternativeASSESSMENT GUIDELINE FOR WIND ENVIRONMENT IMPACT OF BUILDINGS ON URBAN SURROUNDING-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรม-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorAtch.S@Chula.ac.th,atch.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.1137-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5873593025.pdf18.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.