Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55352
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธวัชชัย เตชัสอนันต์-
dc.contributor.authorภรณี ไชยลังกา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-10-30T04:35:45Z-
dc.date.available2017-10-30T04:35:45Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55352-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ศึกษาผลกระทบของแรงดันเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการอัดประจุรถยนต์ไฟฟ้าในระบบจำหน่ายไฟฟ้า เพื่อหาปริมาณของรถยนต์ไฟฟ้าที่สามารถเชื่อมต่อในระบบได้โดยไม่ทำให้แรงดันเปลี่ยนแปลงเกินเกณฑ์มาตรฐาน และเพื่อหาตำแหน่งที่เหมาะสมสำหรับติดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้ากระแสตรง การวิเคราะห์จะพิจารณาการอัดประจุแบบกระแสสลับระดับที่ 1 กระแสสลับระดับที่ 2 และการอัดประจุกระแสตรง โดยติดตั้งการอัดประจุกระแสสลับในระบบไฟฟ้าแรงดันต่ำ และติดตั้งสถานีอัดประจุรถยนต์ไฟฟ้ากระแสตรงในระบบแรงดันปานกลาง เวลาที่เริ่มต้นอัดประจุรถยนต์มาจากผลสำรวจพฤติกรรมของผู้ขับรถจาก NHTS ลักษณะการใช้ไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ระบบทดสอบที่ใช้เป็นระบบแรงดันต่ำ 400 โวลต์ และระบบแรงดันปานกลาง 20 กิโลโวลต์ มาจากระบบทดสอบของทวีปยุโรปจาก CIGRE โดยทำการจำลองคุณลักษณะของรถยนต์ไฟฟ้าโดยโปรแกรม MATLAB และคำนวณจากไหลของกำลังไฟฟ้าผ่านโปรแกรม DIgSILENT PowerFactory ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า หากมีโหลดของรถยนต์ไฟฟ้าจำนวน 9 คันอัดประจุอยู่ในเฟสเดียวกันในระบบ สามารถก่อให้เกิดแรงดันเฟสเปลี่ยนแปลงเกิน 10 เปอร์เซ็นต์ของแรงดันพื้นฐาน และ ในระบบแรงดันปานกลางหากติดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้ากระแสตรงขนาด 50 กิโลวัตต์ จำนวน 8 หัวจ่ายต่อหนึ่งสถานีในระบบจำนวนหนึ่งสถานีจะไม่เกิดแรงดันเปลี่ยนแปลงเกินปริมาณที่ยอมรับได้-
dc.description.abstractalternativeThis thesis studies the voltage variation from charging electric vehicles in a distribution system. The work will obtain the number of connected electric vehicles that can be connected without violating the voltage standard limit and proper location to install DC charging stations. The analysis will cover AC charging level 1, AC charging level 2 and DC charging. The AC charging is in a LV distribution system, while DC charging is in a MV distribution system. Charging time used in this thesis were taken from transportation behavior research of NHTS and load profiles from Thailand’s utility, PEA. CIGRE test systems were used to simulate case studies which are 400 V European low voltage system and 20 kV European medium voltage system. Charging characteristic was calculated by MATLAB and DIgSILENT PowerFactory program was used to calculate power flow. Results showed that 9 electric vehicle charging at the same phase can cause phase voltage variation over 10% from nominal voltage in a low voltage system. DC charging station with 8 fast chargers having 50 kW per charger was tested in a medium voltage system, resulting no voltage variation problem.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.944-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleการวิเคราะห์แรงดันเปลี่ยนแปลงในระบบจำหน่ายไฟฟ้าจากการอัดประจุรถยนต์ไฟฟ้า-
dc.title.alternativeANALYSIS OF VOLTAGE VARIATIONS CAUSED BY ELECTRIC VEHICLE CHARGING IN DISTRIBUTION SYSTEMS-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้า-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorThavatchai.T@Chula.ac.th,tayjasanant@yahoo.ca,taytaycu@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.944-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5670324821.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.