Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเรศ ศรีสถิตย์-
dc.contributor.authorสมรศรี กันภัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-01-18T06:31:55Z-
dc.date.available2008-01-18T06:31:55Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741312343-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5539-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการศึกษาการบำบัดน้ำเสียจากโรงฟอกหนัง โดยใช้กระบวนการกรองที่มีเศษหินแกรนิตเป็นสารกรองแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ การกรองน้ำเสียที่มีความเข้มข้นสูงและการกรองน้ำเสียที่มีความเข้มข้นต่ำ ซึ่งผ่านระบบบำบัดแบบตะกอนเร่ง โดยพิจารณาจากพารามิเตอร์ที่สำคัญคือ พีเอช ความขุ่น ซีโอดี และโครเมียม ผลการศึกษาการกรองน้ำเสียที่มีความเข้มข้นสูง มาทำการบำบัดขั้นต้นด้วยสารส้มเปรียบเทียบสารกรองขนาด 0.42-0.60 มม. และ 1.40-1.70 มม. ที่อัตรากรอง 2 และ 4 ลบ.ม./ตร.ม.ชม. พบว่าสารกรองขนาด 0.42-0.60 มม. มีอัตรากรองที่เหมาะสม 2 ลบ.ม./ตร.ม.ชม. สารกรองขนาดเล็กจะกำจัดความขุ่น ซีโอดี และโครเมียมได้มากกว่าสารกรองขนาดใหญ่ และที่ขนาดสารกรองเท่ากันการกรองด้วยอัตรากรองต่ำจะสามารถกำจัดความขุ่น ซีโอดี และโครเมียมได้ดีกว่าอัตรา กรองสูง สำหรับการกรองน้ำเสียที่มีความเข้มข้นต่ำโดยใช้สารกรอง 3 ขนาด คื 0.42-0.60 มม. 1.00-1.40 มม. และ 1.40-1.70 มม. ที่อัตรากรอง 2, 4 และ 8 ลบ.ม./ตร.ม.ชม. พบว่าขนาดสารกรองที่เหมาะสมในการกรองคือ 0.42-0.60 มม. และอัตรากรองที่เหมาะสมคือ 2 ลบ.ม./ตร.ม.ชม. ปริมาตรน้ำที่กรองได้ 96 ลบ.ม./ตร.ม. อายุการใช้งานของสารกรองทั้งสามขนาดที่อัตรากรอง 2 ลบ.ม./ตร.ม.ชม. คือ 48 ชั่วโมงen
dc.description.abstractalternativeThe study of tannery wastewater treatment could be classified into 2 types : the filtration of highly intensed wastewater and the filtration of lowly intensed wastewater which was treated by the activated sludge treatment. The significant parameters in the study were as following : pH, turbidity, COD and total chromium. From the study ; when the treatment of highly intensed wastewater treated by primeary treatment with alum compare with filter media size at filtration rate 2 and 4 m3/m2hr, the result was 0.42-0.60 mm and 1.40-1.60 mm that the appropriate filtration rate of the 0.42-0.60 mm filter media was 2m3/m2hr. Smaller filter media could remove the more of turbidity, COD, and total chromium more effectively. When the lowly intensed wastewater was filtered by three sizes of filter media: 0.42-0.60 mm, 1.00-1.40 mm, 1.40-1.70 mm at filtration rate 2, 4 and 8 m3/m2hr, the result was that 0.42-0.60 mm was the appropriate size of filter media at 2 m3/m2hr was the appropriate filtration rate. The quantity offiltered water was 96 m3/m2. The filter run at that filtration rate of three sizes media were 48 hr.en
dc.format.extent4387927 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกรองen
dc.subjectโครเมียมen
dc.subjectหินแกรนิตen
dc.subjectโรงงานฟอกหนังen
dc.titleการบำบัดน้ำเสียจากโรงฟอกหนังโดยใช้กระบวนการกรองที่มีเศษหินแกรนิตเป็นสารกรองen
dc.title.alternativeTannery wastewater treatment using filtration with granite rock as filter mediaen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorThares.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Samornsri.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.