Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55490
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนัสกร ราชากรกิจ-
dc.contributor.advisorสุจิตรา วาสนาดำรงดี-
dc.contributor.authorณัฐวรรษ อาจศึก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-10-30T04:37:54Z-
dc.date.available2017-10-30T04:37:54Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55490-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาปริมาณโลหะหนักและโลหะมีค่าในซากโทรศัพท์มือถือประกอบกับการสำรวจพฤติกรรมการใช้และการกำจัดโทรศัพท์มือถือที่เสียแล้วหรือไม่ได้ใช้แล้วของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล จำนวน 400 ชุด ผลการศึกษาพบว่าอายุการใช้งานโทรศัพท์มือถือของผู้ตอบแบบสอบถามอยู่ที่ 1-2 ปี กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีโทรศัพท์มือถือที่เสียแล้วหรือไม่ได้ใช้งานแล้วเก็บไว้ที่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 59.5 ซึ่งส่วนใหญ่เก็บซากโทรศัพท์ไว้เฉยๆที่บ้านไม่ได้ใช้ทำอะไร คิดเป็นร้อยละ 74.3 ส่วนสาเหตุหลักที่ยังเก็บโทรศัพท์มือถือที่เสียแล้วหรือไม่ได้ใช้งานแล้วคือไม่ทราบว่าจะนำไปทิ้งที่ไหน ในขณะที่การวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักและโลหะมีค่าด้วยวิธี XRF พบว่าโลหะทองแดง (Cu) มีปริมาณมากที่สุด ทั้งในแผ่นวงจรพิมพ์ ฝาครอบรวมแป้นพิมพ์ และหน้าจอผลึกเหลว ในขณะที่การคำนวณมูลค่าแร่โลหะที่มีค่าเปรียบเทียบระหว่างโทรศัพท์ประเภทปุ่มกดและประเภทหน้าจอสัมผัส ผลการวิจัยพบว่ามูลค่าแร่โลหะที่มีค่าที่คำนวณได้ในซากโทรศัพท์มือถือประเภทปุ่มกดมีมากกว่าโทรศัพท์มือถือประเภทหน้าจอสัมผัส ซึ่งคิดเป็นมูลค่า 19.37 และ 15.15 บาทต่อเครื่อง ตามลำดับ-
dc.description.abstractalternativeThis research focuses on two major parts; namely, characterization of heavy metals and precious metals in discarded mobile phones and survey on the consumers’ behavior on use and disposal of their mobile phones in Bangkok, Thailand. Having used 400 questionnaires to collect extensive information, it was found that average replacement cycle of mobile phones was approximately 1-2 years. Most of the respondents (59.5%) indicated that they have kept their discarded mobile phones at home despite the fact that some are still in working order. As many as 74.3% of those who have kept their phones have not used their phones for any reason at all. Not knowing where to dispose of the phones properly is the main reason. Characterization of heavy metals and precious metals in mobile phone parts by XRF revealed that copper metal (Cu) was most abundant. Comparison between calculated potential recycling values of a feature phone and a smart phone showed that a feature phone possessed higher recyclable mineral values per unit (19.37 Baht) as compared with that of a smart phone (15.15 Baht).-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1050-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectของเสียอันตราย-
dc.subjectโลหะหนัก-
dc.subjectHazardous wastes-
dc.subjectHeavy metals-
dc.titleปริมาณโลหะหนักและโลหะมีค่าในซากโทรศัพท์มือถือและแนวทางการจัดการ-
dc.title.alternativeCharacterization of heavy metals and precious metals in discarded mobile phones and their management approach-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorManaskorn.R@Chula.ac.th,manaskorn@gmail.com-
dc.email.advisorSujitra.V@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.1050-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5770413021.pdf4.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.