Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55656
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุเทพ กลชาญวิทย์ | - |
dc.contributor.advisor | ฐนิสา พัชรตระกูล | - |
dc.contributor.author | กษิดิศ นรเศรษฐ์กุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-10-30T04:43:44Z | - |
dc.date.available | 2017-10-30T04:43:44Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55656 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559 | - |
dc.description.abstract | บทนำ: การตรวจการเปลี่ยนแปลงความต้านทานภายในหลอดอาหาร 24 ชั่วโมง สามารถใช้ในการประเมินก๊าซหรือของเหลวในหลอดอาหาร รวมจนถึงจำนวนครั้งของการกลืน และการกลืนที่สมบูรณ์หรือไม่สมบูรณ์ได้ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนการกลืนน้ำลายที่สมบูรณ์ต่อการกลืนน้ำลายที่ไม่สมบูรณ์ซึ่งประเมินโดยการตรวจการเปลี่ยนแปลงความต้านทานภายในหลอดอาหาร 24 ชั่วโมง กับอัตราการไหลของน้ำลายในผู้ที่มีการทำงานของหลอดอาหารปกติ ผลการวิจัย: ผู้เข้าร่วมวิจัย 42 คน พบภาวะน้ำลายน้อยทั้งสิ้น 13 ราย (คิดเป็นร้อยละ30.9) พบว่ากลุ่มที่มีภาวะน้ำลายน้อยมีจำนวนครั้งของการกลืนทั้งหมด การกลืนที่สมบูรณ์ อัตราการกลืนทั้งหมด และอัตราการกลืนที่สมบูรณ์น้อยกว่ากลุ่มที่ปริมาณน้ำลายปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (จำนวนครั้งของการกลืนทั้งหมด 218.2±116.6 เปรียบเทียบกับ 409.3±180.4 ครั้ง/วัน, จำนวนครั้งของการกลืนที่สมบูรณ์ 138.2±86.7 เปรียบเทียบกับ 314.8±163.3 ครั้ง/วัน, อัตราการกลืนทั้งหมด 9.8±5.2 เปรียบเทียบกับ 18.2±8.2 ครั้ง/ชั่วโมง และอัตราการกลืนที่สมบูรณ์ 6.2±3.8 เปรียบเทียบกับ 14.0±7.4 ครั้ง/ชั่วโมง) และพบมีความสัมพันธ์ระดับปานกลางระหว่างปริมาณน้ำลายก่อน-หลังการกระตุ้นกับจำนวนการกลืนทั้งหมด จำนวนการกลืนที่สมบูรณ์ อัตราการกลืนทั้งหมด อัตราการกลืนที่สมบูรณ์ และอัตราส่วนการกลืนที่สมบูรณ์ต่อการกลืนที่ไม่สมบูรณ์ สรุปผลการวิจัย: จำวนและอัตราการกลืนทั้งหมด จำนวนและอัตราการกลืนที่สมบูรณ์น้อยลงในกลุ่มที่มีภาวะน้ำลายน้อย และพบความสัมพันธ์ระดับปานกลางระหว่างปริมาณน้ำลายกับการกลืน การวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่าการตรวจการเปลี่ยนแปลงความต้านทานภายในหลอดอาหาร 24 ชั่วโมง สามารถนำมาใช้ในการประเมินปริมาณน้ำลายได้ | - |
dc.description.abstractalternative | BACKGROUND: 24–h esophageal pH/impedance study can be used to evaluate swallowing profiles. AIMS: To study saliva swallowing patterns evaluated by the 24-h pH/impedance monitoring and association between saliva flow rate and saliva swallowing patterns. METHODS: Patients with suspected GERD were enrolled and underwent the 24-h esophageal pH/impedance monitoring and salivary flow rate measurement before and after stimulation. All saliva swallowing profiles were recorded. RESULTS: 42 patients were eligible. 13 patients (30.9%) had xerostomia. Patients with xerostomia had significantly lower total and complete swallowing rate compared to normal salivation group (total 9.8±5.2 vs. 18.2±8.2, complete 6.2±3.8 vs. 14.0±7.4). The complete/incomplete swallow ratio in xerostomia was significantly lower than normal salivation (1.8±0.7 vs. 3.8±2.8). Salivary flow rate showed moderate correlation with total and complete swallowing numbers, total and complete swallowing rate and complete/incomplete swallow ratio. CONCLUSIONS: Xerotomic patient have lower total/complete swallowing rate and complete/incomplete swallowing ratio than patients with normal salivation. There were significant correlation between saliva flow rate and swallow patterns. 24-h pH/impedance monitoring is a useful tool for salivary flow rate evaluation. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1252 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.title | ความสัมพันธ์ของอัตราส่วนการกลืนน้ำลายที่สมบูรณ์ต่อการกลืนน้ำลายที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่งประเมินโดยการตรวจการเปลี่ยนแปลงความต้านทานภายในหลอดอาหาร 24 ชั่วโมง และอัตราการไหลของน้ำลายในผู้ที่มีการทำงานของหลอดอาหารปกติ | - |
dc.title.alternative | CORRELATION OF PROPORTION OF COMPLETE AND INCOMPLETE SALIVA SWALLOWING EVALUATED BY 24 HOUR ESOPHAGEAL IMPEDANCE TEST AND SALIVARY FLOW RATE IN NORMAL ESOPHAGEAL FUNCTION PERSON | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | Sutep.G@Chula.ac.th,gsutep@hotmail.com,gsutep@hotmail.com | - |
dc.email.advisor | dr_tanisa@yahoo.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2016.1252 | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5874001030.pdf | 3.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.