Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55687
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดนีญา อุทัยสุข-
dc.contributor.authorกานต์ธิดา กำแพงแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-10-30T04:45:22Z-
dc.date.available2017-10-30T04:45:22Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55687-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยทดลองเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อใช้กิจกรรมพัฒนาทักษะโสตประสาทด้วยวิธีการสอนแบบ โคดายและกิจกรรมรูปภาพช่วยจำกับนักเรียนระดับชั้นต้น 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางความรู้ของการพัฒนาทักษะโสตประสาทด้วยวิธีการสอนแบบโคดายและกิจกรรมรูปภาพช่วยจำกับนักเรียนระดับชั้นต้น และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมพัฒนาทักษะโสตประสาทด้านระดับเสียง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) กิจกรรมดนตรีเพื่อพัฒนาทักษะโสตประสาทด้านระดับเสียง 2) แผนการสอนระยะยาว 3) แผนการสอน 12 คาบ 4) แบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังใช้กิจกรรม 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรม 6) แบบประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละคาบ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญในงานวิจัยนี้ ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นต้นจากโครงการศึกษาดนตรีสำหรับบุคคลทั่วไป วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 8 คน ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) แผนการใช้กิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะโสตประสาทตามวิธีสอนแบบโคดายและกิจกรรมรูปภาพช่วยจำสำหรับนักเรียนระดับชั้นต้นที่เหมาะสม ประกอบด้วย ระยะเวลาการทดลอง จุดประสงค์ เนื้อหาสาระการเรียนรู้ กิจกรรม สื่อการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล 2) ผลสัมฤทธิ์ด้านความรู้ นักเรียนมีพัฒนาการทางการฟังหลังได้รับกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยพบปัญหาในเรื่องการฟังขั้นคู่เสียงมากที่สุด รองลงมาคือการร้องขั้นคู่เสียง ด้านความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรม นักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมในด้านเนื้อหา ด้านสื่อที่ใช้ในการสอน และด้านประโยชน์ของกิจกรรมอยู่ในระดับมาก-
dc.description.abstractalternativeThis research was a qualitative and quantitative experimental research. The objectives of this research were : 1) to create musical activities that enhance elementary students’ aural skills by implementing Kodály method and mnemonic picture activities 2) to study the achievement of elementary students’ aural skills after the activities and to study the elementary students’ satisfaction after the activities. The tools used in this research included : 1) musical activities to enhance students’ aural skill in pitch 2) long term lesson plan 3) 12 lesson plans 4) musical knowledge test 5) questionnaire on student’s satisfaction after the activities and 6) observation form on student’s knowledge. The key informants of this research were eight elementary students’ from MCGP Music College of Mahidol University. The result showed that 1) activities plan to enhance elementary students’ aural skills by implementing Kodály method and mnemonic picture activities suitable lesson plans were duration, purpose, content, activities, teaching tools, and evaluation 2) although, students developed music knowledge statistically at the .05 level, but they still had problem with listening and singing intervals accordingly and students were satisfied with the activities in content, learning aid and usefulness of the activities.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.349-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectโสตประสาท-
dc.subjectการสอน-
dc.subjectเทคนิคช่วยการจำ-
dc.subjectAcoustic nerve-
dc.subjectTeaching-
dc.subjectMnemonics-
dc.titleการใช้วิธีสอนแบบโคดายและกิจกรรมรูปภาพช่วยจำเพื่อส่งเสริมทักษะโสตประสาทของนักเรียนระดับชั้นต้น-
dc.title.alternativeIMPLEMENTATION OF KODÁLY METHOD AND MNEMONIC PICTURE ACTIVITIES TO ENHANCE ELEMENTARY STUDENTS’ AURAL SKILLS.-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineดนตรีศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorDneya.U@Chula.ac.th,noonnin@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.349-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5883305227.pdf7.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.