Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5569
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรถสิทธิ์ สุรฤกษ์ | - |
dc.contributor.author | วรท วรวัฒน์พิบูลย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-01-21T08:13:50Z | - |
dc.date.available | 2008-01-21T08:13:50Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.isbn | 9741758154 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5569 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยชิ้นนี้กล่าวถึงการปรับปรุงประสิทธิภาพการวิเคราะห์มิวเทชันซึ่งเป็นวิธีการทดสอบซอฟต์แวร์แบบหน่วยเดียว ข้อเสียของการวิเคราะห์มิวเทชันคือใช้เวลาในการคำนวณที่สูง เนื่องจากจำนวนโปรแกรมมิวแทนท์ที่ต้องนำมาทดสอบมีจำนวนมาก จุดมุ่งหมายสำหรับงานวิจัยชิ้นนี้คือ การลดจำนวนของโปรแกรมมิวแทนท์และลดจำนวนครั้งในการทดสอบโปรแกรมมิวแทนท์ แต่ยังรักษาประสิทธิผลของการทดสอบไม่ให้ลดลง การวิเคราะห์มิวเทชันแบบหลายข้อผิดพลาดเป็นวิธีการที่ลดจำนวนของโปรแกรมมิวแทนท์ลง โดยการให้โปรแกรมมิวแทนท์หนึ่งๆ สามารถเป็นตัวแทนให้กับหลายโปรแกรมมิวแทนท์ได้ ในงานวิจัยชิ้นนี้ได้เสนออัลกอริธึมในการสร้างโปรแกรมมิวแทนท์แบบหลายข้อผิดพลาด และอัลกอริธึมในการกำจัดโปรแกรมมิวแทนท์แบบหลายข้อผิดพลาด งานวิจัยชิ้นนี้ยังได้พิสูจน์และทำการทดลองเพื่อยืนยันถึงจำนวนของโปรแกรมมิวแทนท์ที่ลดลงและการรักษาประสิทธิผลของกรณีทดสอบที่ได้รับ นอกจากปัญหาที่กล่าวถึงข้างต้น ในการวิเคราะห์มิวเทชันแบบเดิมนั้นกรณีทดสอบจำเป็นต้องทดสอบกับโปรแกรมมิวแทนท์ที่ไม่สามารถถูกกำจัดได้ด้วยกรณีทดสอบนั้นๆ งานวิจัยนี้จึงเสนออัลกอริธึมในการแบ่งกลุ่มโปรแกรมมิวแทนท์ตามข้อบังคับการไปถึงเพื่อลดจำนวนครั้งของการทดสอบที่สูญเสียไป พร้อมทั้งพิสูจน์ถึงจำนวนครั้งในการทดสอบโปรแกรมมิวแทนท์ที่สามารถลดลงได้เมื่อทำการแบ่งกลุ่ม งานวิจัยชิ้นนี้ยังได้พิจารณาถึงปัจจัยที่สำคัญสำหรับการนำเอาการแบ่งกลุ่มโปรแกรมมิวแทนท์มาปรับปรุงการวิเคราะห์มิวเทชันแบบหลายข้อผิดพลาด | en |
dc.description.abstractalternative | This research concerns improving the efficiency of mutation analysis technique, which is an effective software unit testing. The main disadvantage of mutation analysis is to use high computation because of a large number of mutant programs to be tested. The aims of this research are not only to reduce the number of mutants and the amount of testing mutant programs, but also to maintain the effective level of the testing. Multiple-Fault mutation is a technique to reduce the number of mutants by using a mutant that can represent several mutants. This research proposes an algorithm for creating multiple-fault mutants and an algorithm for killing such mutants. We also prove theorems and carry out experiments to assure that the number of mutants is reduced and the effectiveness of test cases is preserved. In additional to the mentioned problem, in a classical approach, many test cases have to run against the mutants which cannot be killed by these test cases. This research proposes an algorithm for grouping mutants with respect to the reachability constraint. We prove that grouping mutants helps reduce the number of testing mutants. This research also considers factors of improving multiple-fault mutation using the grouping technique. | en |
dc.format.extent | 1880029 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ซอฟต์แวร์ -- การทดสอบ | en |
dc.title | การวิเคราะห์มิวเทชันแบบหลายข้อผิดพลาด | en |
dc.title.alternative | Multiple-fault mutation analysis | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | athasit@cp.eng.chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.