Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55711
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณี เจตจำนงนุช-
dc.contributor.authorชุมศิริ ตันติธารา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-10-30T04:46:44Z-
dc.date.available2017-10-30T04:46:44Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55711-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลจากการใช้โปรแกรมการสร้างวินัยเชิงบวกที่มีต่อการทำงานของสมองด้านการจัดการของนักเรียน ตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ระดับชั้นอนุบาล 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนวัดเฉลิมพระเกียรติ (พิบูลบำรุง) จังหวัดนนทบุรี จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ โปรแกรมการสร้างวินัยเชิงบวก และแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานของสมองด้านการจัดการของเด็กปฐมวัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) และทำการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างช่วงเวลาของการวัดประเมินการทำงานของสมองด้านการจัดการโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) และสถิติทดสอบทีแบบอิสระ (Independent t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีระดับการทำงานของสมองด้านการจัดการสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และระยะติดตามผลการทดลองกลุ่มทดลองมีระดับการทำงานของสมองด้านการจัดการแตกต่างจากหลังการทดลองอย่างไม่มีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2) หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีระดับการทำงานของสมองด้านการจัดการสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ระยะติดตามผลการทดลอง กลุ่มทดลองมีระดับการทำงานของสมองด้านการจัดการสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare effects of using a positive discipline program on executive function in young children. Subjects were 60 K3 students in semester 1 academic year 2017 at Wat Chalermprakiet school in Nonthaburi. The research instruments included a positive discipline program and an executive functioning observation form for young children. ANOVA and independent t-test were used to compare means and standard deviation between the time series of executive function. The results were as follows: 1) Post-test executive function score of an experimental group was higher than pre-test score at .05 level of significance; no statistically significant difference was found between the post-test and follow-up period 2) The post-test executive function score of an experimental group was higher than a control group at .05 level of significance 3) The follow-up executive function test score of an experimental group was higher than a control group at .05 level of significance.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.314-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectวินัยของเด็ก-
dc.subjectพัฒนาการของเด็ก-
dc.subjectDiscipline of children-
dc.subjectChild development-
dc.titleผลการใช้โปรแกรมการสร้างวินัยเชิงบวกที่มีต่อการทำงานของสมองด้านการจัดการของเด็กปฐมวัย-
dc.title.alternativeEffects of using a positive discipline program on executive function in young children-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorWannee.J@Chula.ac.th,wannee_krukim@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.314-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5883415627.pdf2.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.