Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55766
Title: การกระจายตัวของยาฆ่าแมลงและไนเตรตในชั้นน้ำใต้ดินระดับตื้นบริเวณพื้นที่เกษตรกรรม : กรณีศึกษาตำบลหัวเรือ จังหวัดอุบลราชธานี
Other Titles: Distribution of pesticide and nitrate concentrations in a shallow groundwater aquifer in an agricultural area : a case study of Hua Rua area, Changwat Ubon Ratchatni
Authors: ทิพวารี ศรีทองดี
Advisors: ศรีเลิศ โชติพันธรัตน์
จักรพันธุ์ สุทธิรัตน์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Advisor's Email: lertc77@yahoo.com
c.sutthirat@gmail.com
Subjects: ชั้นน้ำบาดาล
ชั้นน้ำบาดาล -- ไทย
ชั้นน้ำบาดาล -- ไทย -- อุบลราชธานี
ชั้นน้ำบาดาล -- ไทย -- หัวเรือ (อุบลราชธานี)
น้ำใต้ดิน
น้ำใต้ดิน -- ไทย
น้ำใต้ดิน -- ไทย -- อุบลราชธานี
น้ำใต้ดิน -- ไทย -- หัวเรือ (อุบลราชธานี)
สารเคมีทางการเกษตร -- แง่สิ่งแวดล้อม
สารเคมีทางการเกษตร -- แง่สิ่งแวดล้อม -- ไทย
สารเคมีทางการเกษตร -- แง่สิ่งแวดล้อม -- ไทย -- อุบลราชธานี
สารเคมีทางการเกษตร -- แง่สิ่งแวดล้อม -- ไทย -- หัวเรือ (อุบลราชธานี)
Aquifers
Aquifers -- Thailand
Aquifers -- Thailand -- Ubon Ratchathani
Aquifers -- Thailand -- Hua Ruea (Ubon Ratchathani)
Groundwater -- Pollution
Groundwater -- Pollution -- Thailand
Groundwater -- Pollution -- Thailand -- Ubon Ratchathani
Groundwater -- Pollution -- Thailand -- Hua Ruea (Ubon Ratchathani)
Agricultural chemicals -- Environmental aspects
Agricultural chemicals -- Environmental aspects -- Pollution -- Thailand
Agricultural chemicals -- Environmental aspects -- Pollution -- Thailand -- Ubon Ratchathani
Agricultural chemicals -- Environmental aspects -- Pollution -- Thailand -- Hua Ruea (Ubon Ratchathani)
Issue Date: 2552
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ในปัจจุบันคุณภาพนํ้าใต้ดินบริเวณพื้นที่เกษตรกรรมมีโอกาสปนเปื้อนด้วยสารฆ่าแมลงและไนเตรตสูงขึ้นเนื่องจากมีการใช้สารเคมีในการทำเกษตรกรรมมากขึ้น พื้นที่ตำบลหัวเรือ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี มีการปลูกพืชตลอดทั้งปี พืชไร่ที่ปลูกส่วนใหญ่คือ “พริกหัวเรือ” สลับกับข้าว โดยมีการนำเอานํ้าใต้ดินมาใช้ประโยชน์ในการเกษตรและนอกจากนี้เกษตรกรยังนำมาใช้ในการอุปโภคบริโภค ดังนั้นในพื้นที่ดังกล่าวน่าจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการปนเปื้อนจากสารเคมีเกษตรสู่นํ้าใต้ดิน ในงานวิจัยนี้ได้ทำการออกภาคสนาม 4 ครั้งในช่วงเดือนกรกฎาคม 2552 ถึงมกราคม 2553 เพื่อวัดระดับของนํ้าใต้ดิน และเก็บตัวอย่างจากบ่อนํ้าใต้ดินจำนวน 10 บ่อ และทำการวิเคราะห์คุณภาพนํ้า ซึ่งได้แก่ ปริมาณของสารฆ่าแมลงประเภทออร์แกโนฟอสเฟต 18 ชนิดและไนเตรต ค่าความนำไฟฟ้าและค่าความเป็นกรดด่าง ตลอดจนจัดทำแผนที่แสดงชั้นความสูงของนํ้าใต้ดินและแผนที่แสดงการกระจายตัวของสารฆ่าแมลง ไนเตรต ค่าความนำไฟฟ้าและค่าความเป็นกรดด่างในนํ้า จากผลการสำรวจในพื้นที่พบว่าทิศทางการไหลของนํ้าใต้ดินไหลจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และพบว่าความสูงของระดับนํ้าใต้ดินสอดคล้องกับช่วงการตกของฝนในพื้นที่ จากการวิเคราะห์ไม่พบสารฆ่าแมลงปนเปื้อนในนํ้าใต้ดิน ทั้งนี้น่าจะเป็นผลมาจากการสลายตัวตามธรรมชาติ นอกจากนี้สารฆ่าแมลงยังอาจถูกดูดซับอยู่ในชั้นดินที่ไม่อิ่มตัวด้วยนํ้าอีกด้วย ผลจากการวิเคราะห์ปริมาณไนเตรตพบปริมาณไนเตรตมีค่า 0 - 8.2 mg/L และค่าเฉลี่ยและปริมาณไนเตรตสูงสุดเท่ากับ 2.91 และ 8.2 mg/L ตามลำดับ นอกจากนี้ความเป็นกรดด่างมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.1 ความนำไฟฟ้ามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 158.23 μS/cm นอกจากนี้จากการหาค่าสหสัมพันธ์พบว่าปริมาณไนเตรตมีค่าสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันกับค่าความเป็นกรดด่างและค่าความนำไฟฟ้า(r >0.75) และไม่มีความสัมพันธ์กับค่าระดับนํ้าใต้ดินและความลึกจากผิวดินสู่นํ้าใต้ดิน (r <0.5)
Other Abstract: Nowadays, groundwater resources used for domestic purpose in the agricultural areas have been potentially threatened by agrochemicals residues from agricultural activities. One of the most agricultural areas, Hua Rua, Ubon Ratchatani Province, has intensively applied pesticides and nitrogen (N) fertilizers in agricultural activities, particularly for planting chilli and rice. In this area, Increased nitrate and pesticide concentrations in the groundwater adversely impact to human and animals drinking such groundwater. Abstract This research showed results of measurement of nitrate and pesticide concentrations, including pH and electrical conductivity (EC), in shallow groundwater in 10 domestic wells under chilli-based production from July, 2009 to January, 2010. The seasonal nitrate concentrations ranged from 0 to 8.2 mg/l, which were lower than the WHO standard for drinking water. The maximum nitrate concentration of 8.2 mg/L at well No.6 was very close to the WHO limit for drinking water standard of 10 mg/L. Mean nitrate concentrations in the wells tend to be increased during intensive application fertilizers during chilli planting. Pesticide concentrations were generally less than detection limit and not thus found in shallow unconfined aquifer. More interestingly, pH values were ranged from 3.68 to 4.88, which is not proper for drinking (pH 6.5-9.2) according to Thailand Drinking Water Standard. The relatively high potential of pesticide leaching appears to be decayed by the loss processes or transformation processes occurring under tropical environments. Under acidic condition, the agricultural area may be easily leached potentially toxic metals from the geological formation or from fertilizers to shallow groundwater system. There was a positively high correlation (ranged from 0.74 to 0.84) between pH and EC, pH and nitrate concentration, and EC and pH during Oct.12, 2009, probably indicating that EC, pH, and nitrate concentration have been affected by fertilizer application.
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2552
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55766
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thipwaree_full report.pdf1.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.