Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55769
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มนตรี ชูวงษ์ | - |
dc.contributor.advisor | วิชัย จูฑะโกสิทธิ์กานนท์ | - |
dc.contributor.author | หทัยกานต์ กิจพานิช | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.coverage.spatial | ประจวบคีรีขันธ์ | - |
dc.coverage.spatial | ห้วยครก (ประจวบคีรีขันธ์) | - |
dc.date.accessioned | 2017-10-31T01:57:55Z | - |
dc.date.available | 2017-10-31T01:57:55Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55769 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2552 | en_US |
dc.description.abstract | พื้นที่ศึกษาของโครงงานวิจัยนี้ อยู่ทางบริเวณตอนใต้ของเขาห้วยครก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจาก พายุ ซึ่งได้แก่ พายุได้ฝุ่นเกย์ เมื่อปี ค.ศ. 1989 พายุไต้ฝุ่นลินดา เมื่อปี ค.ศ. 1997 เป็นต้น ในปัจจุบันการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวกับพายุในเชิงธรณีวิทยาในประเทศไทยยังมีไม่มาก ดังนั้นโครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพของการสะสมตัวของตะกอนที่เกิดจากพายุและวิเคราะห์ลักษณะธรณีสัณฐานวิทยาที่เหมาะสมกับการสะสมตัวของตะกอนจากพายุว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร จากการสำรวจภาคสนามพบว่า พื้นที่ที่พบการสะสมตัวของตะกอนพายุเป็นธรณีสัณฐานที่เคยเป็นที่ลุ่มต่ำ (swale) หลังสันทราย (beach ridge) และพื้นที่บางส่วนด้านตะวันตกเป็นเนินทรายลมหอบ (sand dune) ผลจากการขุดหลุมทดสอบและการเจาะสำรวจโดยเครื่องเจาะตะกอนแบบหมุน (hand auger) ตามแนวสำรวจ พบว่า ลักษณะทางตะกอนวิทยาของชั้นตะกอนพายุมีความไม่ต่อเนื่องกับชั้นดินเดิมอย่างชัดเจน (sharp contact) ในบางหลุม พบเศษซากวัตถุเช่น เศษหิน เชือก ปะปนอยู่ในหลายตำแหน่ง การวิเคราะห์ทางสถิติ พบว่าชั้นตะกอนพายุเป็นตะกอนทรายขนาดปานกลางถึงทรายหยาบเป็นหลัก (medium to coarse sand) มีการคัดขนาดดี (well sorted) พบโครงสร้างตะกอนเป็น normal grading เกือบทั้งหมดพบ reverse grading บางตำแหน่ง ผลการวิเคราะห์สภาพธรณีสัณฐาน ประกอบกับลักษณะปรากฏของตะกอนและสมบัติทางกายภาพสรุปได้ว่า ชั้นตะกอนที่พบในบริเวณที่เป็นที่ลุ่มต่ำนี้ เกิดจากพายุ ซึ่งเป็นสภาพธรณีสัณฐานที่เหมาะสมจะเป็นแหล่งสะสมตัวของตะกอนพายุได้เป็นอย่างดี | en_US |
dc.description.abstractalternative | The study area is located in the southern part of Khao Huai Khrok, Amphoe Tapsakae, and Changwat Phachuap Khiri Khan. The area has been affected often from storm such as Typhoon Gay in 1989, Typhoon Linda in 1997. This project is aimed at searching for the deposition from those storm events in the potential area where the storm deposits have been previously reported. The objectives are to characterize physical properties of storm deposits and analyze the preservation potential based on different morphology. As a result, the morphology of the study area consists of three landform patterns; dune, swale and beach ridge. In the field, test pitting along two transect lines together with hand augering were carried out. The candidate storm deposit is characterized by sharp contact above ordinary surface, and storm debris within storm layer. Storm deposit contains mainly sand size ranging from medium to coarse grained with well sorted. Sedimentary structures include normal grading and localized reverse grading. The best morphological trap is in swale between beach ridges locating not far from the coastline. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ตะกอน (ธรณีวิทยา) | en_US |
dc.subject | ตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทย | en_US |
dc.subject | ตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์ | en_US |
dc.subject | ตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- ห้วยครก (ประจวบคีรีขันธ์) | en_US |
dc.subject | ตะกอนชายฝั่ง | en_US |
dc.subject | ตะกอนชายฝั่ง -- ไทย | en_US |
dc.subject | ตะกอนชายฝั่ง -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์ | en_US |
dc.subject | ตะกอนชายฝั่ง -- ไทย -- ห้วยครก (ประจวบคีรีขันธ์) | en_US |
dc.subject | Sediments (Geology) | en_US |
dc.subject | Sediments (Geology) -- Thailand | en_US |
dc.subject | Sediments (Geology) -- Thailand -- Prachuap Khiri Khan | en_US |
dc.subject | Sediments (Geology) -- Thailand -- Huai Khrok (Prachuap Khiri Khan) | en_US |
dc.subject | Coastal sediments | en_US |
dc.subject | Coastal sediments -- Thailand | en_US |
dc.subject | Coastal sediments -- Thailand -- Prachuap Khiri Khan | en_US |
dc.subject | Coastal sediments -- Thailand -- Huai Khrok (Prachuap Khiri Khan) | en_US |
dc.title | ลักษณะการสะสมตัวของตะกอนชายฝั่งที่ได้รับผลกระทบจากพายุ บริเวณตอนใต้ของเขาห้วยครก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | en_US |
dc.title.alternative | Physical characteristics of storm deposits in the southen part of Khao Huai Khrok area, Amphoe Tapsakae, Changwat Prachup Kriri Khan | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | monkeng@hotmail.com | - |
dc.email.advisor | vichaic@yahoo.com | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Hathaikarn_full report.pdf | 5.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.