Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55799
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพวงแก้ว ปุณยกนก-
dc.contributor.authorสิริมาศ สิทธิหล่อ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2017-11-06T15:15:09Z-
dc.date.available2017-11-06T15:15:09Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745798232-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55799-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาวิธีการวัดกระบวนการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้วิธีการคิดออกเสียง พร้อมทั้งพัฒนาแบบบันทึกกระบวนการคิดแก้ปัญหาและเปรียบเทียบพฤติกรรมการแก้ปัญหา ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีความสามารถต่างระดับกัน ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 72 คน ผลการวิจัยพบว่า 1.วิธีการวัดกระบวนการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้วิธีการคิดออกเสียง มีขั้นตอนดังนี้คือ ครูเสนอโจทย์ปัญหาให้นักเรียนคิดแล้วพูดออกมาดังๆ หรืออาจเขียนในกระดาษทดด้วยก็ได้ ในขณะแก้ปัญหาครูบันทึกพฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออกโดยการพูดลงในแบบบันทึกกระบวนการแก้ปัญหา ซึ่งครูจะนำมาตรวจให้คะแนนภายหลัง วิธีการวัดกระบวนการแก้ปัญหา โดยใช้วิธีการคิดออกเสียงนี้ จะต้องใช้ร่วมกับแบบบันทึกกระบวนการแก้ปัญหา ซึ่งคะแนนที่ได้จากการวัดโดยวิธีนี้ ได้นำมาศึกษาความเที่ยงในการบันทึกพฤติกรรมของครู 2 คน ปรากฏว่า ได้ค่าสัมประสิทธิ์เป็น .86 และคะแนนที่ได้จากคิดออกเสียงสัมพันธ์กับคะแนนที่ได้จากการทำข้อสอบอัตนัยในระดับ .82 แสดงว่าวิธีการวัดกระบวนการแก้ปัญหา โดยวิธีการคิดออกเสียงนี้มีความตรงเชิงเกณฑ์ 2. ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมการแก้ปัญหา ระหว่างนักเรียนกลุ่มเก่ง ปานกลาง และอ่อน พบว่า กลุ่มเก่งจะแสดงพฤติกรรมเกือบทุกขั้นตอน ในขณะที่กลุ่มปานกลางและกลุ่มอ่อนแสดงพฤติกรรมไม่ครบขั้นตอน และกลุ่มเก่งแสดงพฤติกรรมคิดออกเสียงที่ให้ข้อมูลมากกว่าen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were to investigate and to develop the assessment technique on problem solving process in mathematics by thinking aloud for lower secondary education students, the problem solving process form was also developed, The problem solving behaviors of students in [classified] ability levels were compared. The subjects were 72 Matayom Suksa One Students in the secondary school under the jurisdiction of the Department of General Education in Bangkok Metropolitan. The results were as follow; 1. The steps of Thinking Aloud problem solving process were; the problem were given to the students the students spoke what they were thinking and they could write they were thinking as well, the teacher record the students behavior using the record form and scored it afterward. The thinking aloud technique and the record form were used together. The scores form two raters were correlated at .86. The correlation [between] scores from thinking aloud method and traditional essay test for the same problems was .82. It could be concludes that this technique yielded criterion validity. 2. The result of the comparison of the three different ability groups in Thinking Aloud behavior were The top group showed almost every step of behavior while the medium and the low groups showed less complete steps of behavior. The top group gave more information via thinking aloud method.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวัดผลทางการศึกษาen_US
dc.subjectความสามารถทางคณิตศาสตร์ -- การทดสอบen_US
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectEducational tests and measurementsen_US
dc.subjectMathematical ability -- Testingen_US
dc.subjectMathematics -- Study and teaching (Secondary)en_US
dc.titleการพัฒนาวิธีการวัดกระบวนการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้วิธีการคิดออกเสียงen_US
dc.title.alternativeA development of assessment technique in problem solving process in methematics by thinking alouden_US
dc.title.alternativeDevelopment of assessment technique in problem solving process in mathematics by thinking alouden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPuangkaew.P@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirimas_si_front.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open
Sirimas_si_ch1.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open
Sirimas_si_ch2.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open
Sirimas_si_ch3.pdf6.31 MBAdobe PDFView/Open
Sirimas_si_ch4.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
Sirimas_si_ch5.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Sirimas_si_back.pdf4.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.