Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56490
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล-
dc.contributor.authorชมภูนุช วิรุณานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-11-28T07:06:05Z-
dc.date.available2017-11-28T07:06:05Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56490-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เพื่อนำจุลินทรีย์เซลลูโลสิกเพื่อการย่อยสลายเซลลูโลสมาใช้ประโยชน์ทางเกษตร โดยเป็นการใช้จุลินทรีย์ ชนิดยีสต์ทนร้อนเพื่อการผลิตเอทานอลจากฟางข้าว เนื่องจากยีสต์ทนร้อนสามารถเจริญและทำให้เกิดกระบวนการหมักได้ดีในประเทศเขตร้อน งานวิจัยได้นำยีสต์ที่ได้รับการคัดกรองมาแล้วในโครงการวิจัยก่อนหน้านี้ ยีสต์ทนร้อนสามารถใช้ไซโลสในการผลิตเอทานอลได้โดยใช้อาหาร Yeast-malt extract medium ที่อุณหภูมิ 35,37,40 และ 50 องศาเซลเซียส ซึ่งพบว่ามี 7 ไอโซเลท จาก 25 ไอโซเลท ที่สามารถใช้ไซโลสเป็นสารตั้งต้นในการผลิตเอทานอล ยีสต์ไอโซเลท SKN 2-1 สามารถผลิตเอทานอลได้ปริมาณสูงสุดเมื่อเทียบกับไอโซเลทอื่น ยีสต์ทนร้อนไอโซเลท SKN 2-1 สามารถเจริญและผลิตเอทานอลได้ที่อุณหภูมิ 40 และ 45 องศาเซลเซียส การศึกษาความสามารถในการผลิตเอทานอลของยีสต์ทนร้อนไอโซเลท SKN 2-1 ที่อุณหภูมิ 40 และ 45 องศาเซลเซียส และใช้ฟางข้าวเป็นวัตถุดิบ ที่ประกอบไปด้วยเซลลูโลส 37.67±0.31 เปอร์เซ็นต์ เฮมิเซลลูโลส 33.36 ±1.96 เปอร์เซ็นต์ และลิกนิน 4.12±0.36 เปอร์เซ็นต์ พบว่า ยีสต์ทนร้อนไอโซเลท SKN 2-1 สามารถผลิตเอทานอลได้สูงที่สุดเท่ากับ 0.66 และ 0.87 กรัมต่อลิตร คิดเป็น 7.67 และ 10.10 เปอร์เซ็นต์ของเอทานอลที่ผลิตได้เมื่อเทียบกับค่าทางทฤษฎีen_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to use cellulosic microorganism in agricultural application. Ethanol production by thermotolerant yeasts have been extensively studied, because thermotolerant yeasts are capable of growth and fermentation during the summer months in non-tropical countries as well as under tropical climates. The result revealed that 7 from 25 isolate show to be thermotolerant xylose-utilizing yeasts for ethanol production from rice straw. Yeast-malt extract medium was used to isolate thermotolerant yeasts at 35, 37, 40, 45 and 50°C. SKN 2-1 was showing producing highest yield of ethanol compared to other isolates. SKN 2-1 could grow and produce ethanol at 40 and 45°C. The thermotolerant yeast isolate SKN 2-1 produced the highest concentration of ethanol 0.66 and 0.87 g L⁻¹ which was equivalent 7.67 and 10.10 of the theoretical ethanol yield r at 40 and 45°C using rice straw contained cellulose 37.67± 0.31%, hemicelluloses 33.36±1.96% and lignin 4.12± 0.36% as substrate.en_US
dc.description.budgetทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินปี 2555en_US
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินปี 2555en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเซลลูโลส -- การย่อยสลายทางชีวภาพen_US
dc.subjectCellulose -- Biodegradationen_US
dc.titleจุลินทรีย์เซลลูโลสิกเพื่อการย่อยสลายเซลลูโลส : การนำไปใช้ประโยชน์ทางเกษตร : รายงานวิจัยen_US
dc.title.alternativeCellulosic microorganism for cellulose degradation: to agricultural applicationen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vorawut_ch_2555.pdf3.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.