Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56516
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทธิรักษ์ สุจริตตานนท์ | - |
dc.contributor.author | สุเทพ ถิรสัตยาพิทักษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2017-12-07T07:07:27Z | - |
dc.date.available | 2017-12-07T07:07:27Z | - |
dc.date.issued | 2530 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56516 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาผลของเขื่อนภูมิพลที่มีต่อค่าสัมประสิทธิ์การขาดแคลนและสัมประสิทธิ์การเติมออกซิเจนในแม่น้ำปิง ได้กระทำโดยการวิเคราะห์ลักษณะสมบัติบางประการที่สำคัญและเกี่ยวข้องกับสัมประสิทธิ์ทั้งสองค่า รวมทั้งข้อมูลอัตราการไหลของแม่น้ำปิงในช่วงที่ทำการศึกษารวม 5 สถานี ได้แก่ สถานีต้นน้ำเหนืออ่างเก็บน้ำและเขื่อนภูมิพล 2 สถานี และสถานีท้ายน้ำใต้เขื่อนภูมิพล 3 สถานี ในรอบปีที่ทำการศึกษาได้กำหนดระยะเวลาเก็บตัวอย่างน้ำ 4 ครั้ง ตามฤดูกาลและปริมาณน้ำ คือ ฤดูน้ำปานกลางในเดือนกรกฎาคมและกันยายน 2528 ฤดูน้ำมากในเดือนพฤศจิกายน 2528 และฤดูน้ำน้อยในเดือนมีนาคม 2529 ผลจากการศึกษาพบว่าน้ำในแม่น้ำปิงที่สถานีท้ายน้ำมีคุณภาพน้ำดีกว่าที่สถานีต้นน้ำ กล่าวคือเฉลี่ยแล้วค่าออกซิเจนละลายที่สถานีท้ายน้ำจะมีค่าสูงกว่าที่สถานีต้นน้ำ ค่า BOD และ Ultimate BOD ที่สถานีท้ายน้ำก็มีค่าต่ำกว่าที่สถานีต้นน้ำ สำหรับสัมประสิทธิ์การขาดแคลนออกซิเจนในแม่น้ำปิง (K₁) ทั้ง 5 สถานี อยู่ในช่วงระหว่าง 0.051 ถึง 0.14 ต่อวัน โดยมีค่า k₁ ที่สถานีท้ายน้ำต่ำกว่าที่สถานีต้นน้ำ และค่าสัมประสิทธิ์การเติมออกซิเจนในแม่น้ำปิง (k₂) อยู่ในช่วงระหว่าง 0.128 ถึง 0.42 ต่อวัน ค่า k₂ ของสถานีต้นน้ำและสถานีท้ายน้ำไม่มีความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัดเจน คือมีค่าประมาณ 0.3 ต่อวัน จึงสามารถสรุปได้ว่าการดำเนินงานของเขื่อนภูมิพลมีผลต่อคุณภาพน้ำของแม่น้ำปิงและค่า k₁ แต่ไม่มีผลกระทบต่อค่า k₂ คือ เขื่อนปล่อยน้ำที่มีคุณภาพดีออกจากอ่างเก็บน้ำ และลดค่า k₁ ในแม่น้ำปิง เป็นการเพิ่มความสามารถในการบำบัดมลสารในแหล่งน้ำ (Self purification) ซึ่งเป็นผลดีต่อคุณภาพน้ำบริเวณท้ายน้ำ | en_US |
dc.description.abstractalternative | The study on the effects of Bhumibol dam on deoxygenation rate and reaeration rate of Ping river was carried out by analysing some water quality parameters required for calculation of deoxygenation and reaeration rate constants. Flow rate measurements were made at 5 sampling station, 2 upstream and 3 downstream stations. Through out 1 year study period, water sampling was made 4 times during the intermediate flow period (July and September 1985), high flow period (November 1985) and low flow period (March 1986). Based on the results obtained, it is found that the downstream water quality of Ping river is better than those for the upstream, the average DO concentration downstream is higher than the upstream. BOD and ultimate BOD of downstream are less than the upstream. The values of deoxygenation rate (k₁) are betweeb 0.051 to 0.14 day⁻¹ and k₁ at downstream less than the upstream. The values of reaeration rate constant (k₂) are between 0.128 to 0.42 day⁻¹. It was observed that the values of k₂ upstream were not significantly different in comparison with those at the downstream. It is averaged about 0.3 day⁻¹. Thus, it can be concluded that the operation of Bhumibol dam imposes beneficial effects upon water quality of ping river and k₁ when as no effect was observed on k₂. Bhumibol dam releases water having good quality from reservior and decreases the values of k₁which inturn increase assimilative capacity of Ping river and therefore benificial to water quality in downstream. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เขื่อน -- แง่สิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.subject | น้ำ -- ปริมาณออกซิเจนละลาย | en_US |
dc.subject | คุณภาพน้ำ -- ไทย (ภาคเหนือ) | en_US |
dc.subject | อัตราการไหลของแม่น้ำ | en_US |
dc.subject | เขื่อนภูมิพล | en_US |
dc.subject | แม่น้ำปิง | en_US |
dc.title | ผลของเขื่อนภูมิพลต่อสัมประสิทธิการขาดแคลนและการเติมออกซิเจน ในแม่น้ำปิง | en_US |
dc.title.alternative | Effect of Bhumiboi Dam on deoxygenation rate and reaeretion rate of Ping river | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suthep_ti_front.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthep_ti_ch1.pdf | 519.54 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthep_ti_ch2.pdf | 5.93 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthep_ti_ch3.pdf | 881.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthep_ti_ch4.pdf | 2.47 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthep_ti_ch5.pdf | 629.92 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthep_ti_back.pdf | 10.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.