Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56540
Title: Distortion-induced stresses in composite steel i-girder bridges
Other Titles: หน่วยแรงเนื่องจากการบิดในสะพานคานเหล็กรูบไอเชิงประกอบ
Authors: Mochammad, Syidik Hidayat
Advisors: Akhrawat Lenwari
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Akhrawat.L@Chula.ac.th
Subjects: Girders
Steel I-beams
Bridges -- Welded joints -- Cracking
Bridges -- Live loads
Strains and stresses
Finite element study
คาน
คานเหล็กรูปตัวไอ
สะพาน -- รอยต่อเชื่อม -- รอยร้าว
สะพาน -- น้ำหนักจร
ความเครียดและความเค้น
ไฟไนต์เอลิเมนต์
Issue Date: 2008
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Repeated traffic loading assists distortion-induced fatigue cracks in the web gaps at connections between the steel girders and out-of-plane elements such as diaphragms and cross frames in the steel bridges. Unstiffened girder web gaps at the ends of transverse stiffeners, which also serve as diaphragm connection plates, are subjected to high local stresses during cyclic out-of-plane distortion. The out-of-plane distortion was mainly caused by relative girder deflection. This research investigates the effects of bridge parameters on the relative displacement between adjacent girders, vertical web gap stresses, and lateral load distribution factor. The parameters include the girder spacing, slab thickness, girder stiffness, and span length. By using finite element method, dual-level analyses using the global model and submodel were performed. The global model was used to study the relative displacement between adjacent girders and lateral load distribution factor, while the submodel was used for the critical web gap stress. From a parametric study, the rankings of bridge parameters that influence the relative displacement between adjacent girders, web gap stress and lateral load distribution factor are reported. For the web gap stress, the results showed that it is primarily dependent on bridge span length and web gap properties.
Other Abstract: น้ำหนักรถบรรทุกกระทำซ้ำบนสะพานสามารถนำไปสู่การเกิดรอยร้าวในเอวคานในสะพานคานเหล็กที่ตำแหน่งรอยต่อระหว่างคานหลักกับชิ้นส่วนนอกระนาบ เช่น ไดอะแฟรม หรือ โครงเฟรมขวาง เป็นตัน ได้ โดยรอยร้าวมักเกิดในเอวบริเวณปลายของแผ่นเหล็กเสริมกำลัง เนื่องจากเกิดหน่วยแรงสูงในบริเวณดังกล่าวเภายใต้การบิดตัวของสะพานอันมีสาเหตุหลักจากการโก่งตัวสัมพัทธ์ระหว่างคานข้างเคียง งานวิจัยนี้ศีกษาผลกระทบของตัวแปรต่างๆ ของสะพานต่อการโก่งตัวสัมพัทธ์ของคาน, หน่วยแรงในคานที่ตำแหน่งรอยต่อระหว่างคานหลักกับชิ้นส่วนนอกระนาบ และ ตัวคูณการกระจายน้ำหนักทางขวางของสะพานคานเหล็กรูปตัวไอเชิงประกอบ ตัวแปรสะพานเหล่านี้ประกอบด้วย ระยะห่างระหว่างคานข้างเคียง, ความหนาของพื้น, โมเมนต์อินเนอร์เชียของคาน และ ความยาวช่วงของสะพาน ในงานวิจัยได้ใช้ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ โดยทำการสร้างแบบจำลองใน 2 รูปแบบ เรียกว่า global model และ submodel โดยแบบจำลองแรกใช้ในการศึกษาการโก่งตัวสัมพัทธ์ระหว่างคานและค่าตัวคูณการกระจายน้ำหนักทางขวาง ในขณะที่แบบจำลองหลังใช้ศึกษาหน่วยแรงในคานที่ตำแหน่งรอยต่อระหว่างคานหลักกับชิ้นส่วนนอกระนาบ จากผลการศึกษาทำให้สามารถเรียงลำดับความสำคัญของตัวแปรสะพานที่มีผลกระทบต่อการโก่งตัวสัมพัทธ์ของคาน, หน่วยแรงในคานที่ตำแหน่งรอยต่อระหว่างคานหลักกับชิ้นส่วนนอกระนาบ และ ค่าตัวคูณการกระจายน้ำหนักทางขวางในสะพานคานเหล็กรูปตัวไอเชิงประกอบได้ โดยพบว่า ตัวแปรที่มีผลกระทบต่อหน่วยแรงเนื่องจากการบิดในเอวคานมากที่สุด คือ ความยาวช่วงของสะพาน และคุณสมบัติของเอวคาน
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2008
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Civil Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56540
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1622
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2008.1622
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mochammad, Syidik Hidayat.pdf2.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.