Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56598
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทิศนา แขมมณี | - |
dc.contributor.advisor | ชนะ กสิภาร์ | - |
dc.contributor.author | สมคิด ธนะเรืองสกุลไทย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2017-12-20T13:37:08Z | - |
dc.date.available | 2017-12-20T13:37:08Z | - |
dc.date.issued | 2533 | - |
dc.identifier.isbn | 9745777366 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56598 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูประจำการช่างเทคนิคอุตสาหกรรม เพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพในการสอน การวิจัยนี้ประกอบด้วยขั้นตอนในการดำเนินการ 6 ขั้นตอน เริ่มจากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้ฐานเกี่ยวกับปัญหา ความต้องการ สภาพการปฏิบัติการจัดการสอน และสมรรถภาพในการจัดการสอนของครูประจำการช่างเทคนิคอุตสาหกรรม แล้วนำผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาออกแบบสร้างหลักสูตรฝึกอบรมครูประจำการช่างเทคนิคอุตสหกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพในการสอน และให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบหลักสูตรที่สร้างขึ้น เนื้อหาสาระของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วยเนื้อหาสาระที่สำคัญ 7 ส่วน คือ กระบวนการเรียนการสอนเชิงระบบ การศึกษาหลักสูตรและวิเคราะห์งานเพื่อวางแผนการสอน การกำหนดวัตถุประสงค์ของการสอน การกำหนดวิธีสอน การเลือกใช้สื่อการสอน การวัดผลประเมินผลการเรียน การเขียนแผนการสอน และการปฏิบัติการสอบแบบจุลภาค จากการทดลองใช้หลักสูตร เพื่อประเมินคุณภาพของหลักสูตร พบว่าหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 1. หลังการฝึกอบรม สมรรถภาพของครูประจำการช่างเทคนิคอุตสาหกรรม ที่เข้ารับการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 2. คะแนนเฉลี่ยของสมรรถภาพในการสอนของครูประจำการช่างเทคนิคอุตสาหกรรมที่เข้ารับการฝึกอบรม จากการทดสอบหลังการฝึกอบรม สูงกว่า 60% 3. ทั้งวิทยากรและผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความเห็นว่าหลักสูตรและโครงการฝึกอบรมมีคุณภาพสูงกว่าระดับปานกลาง | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to develop the technical instructors in-service training curriculum for enhancing instructional competencies. Problems, needs for instructional competencies ad instructional competencies of in-service technical instructors were analyzed and used as basic data in designing the technical instructors in-service training curriculum for enhancing instructional competencies. This design was reviewed by the experts. The subject matter of the developed curriculum consisted of seven main topics. They were the systematic teaching and learning process, the study of curriculum and job analysis for instructional planning, the development of instructional objectives, the teaching methods, the selection and use of instructional medias, the evaluation of learning out-comes, the writing of instructional plans and micro-teaching. The results from the implementation and evaluation of the developed curriculum indicated its effectiveness which met the determined criteria as follows : 1. After the training course had been completed, the competencies of in-service technical were increased with a statistical significance at the .01 level. 2. The post-test average score on instructional competencies of the in-service technical instructors was higher than 60 percent. 3. Both the trainers and trained in-service technical instructors expressed their satisfaction concerning the curriculum and the training program at a level higher than moderate. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การวางแผนหลักสูตร | en_US |
dc.subject | การฝึกอบรม | en_US |
dc.subject | ครูช่างอุตสาหกรรม -- การฝึกอบรมในงาน | en_US |
dc.subject | Curriculum planning | en_US |
dc.subject | Training | en_US |
dc.subject | Engineering teachers -- In-service training | en_US |
dc.title | การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูประจำการช่างเทคนิคอุตสาหกรรม เพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพในการสอน | en_US |
dc.title.alternative | Development of technical instructors in-service training curriculum for enhancing instructional competencies | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.degree.discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Tisana.K@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somkid_th_front.pdf | 2.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somkid_th_ch1.pdf | 1.89 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somkid_th_ch2.pdf | 24.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somkid_th_ch3.pdf | 2.5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somkid_th_ch4.pdf | 6.76 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somkid_th_ch5.pdf | 2.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somkid_th_back.pdf | 37.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.