Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56604
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระพร อุวรรณโณ-
dc.contributor.authorโสพิน อมรจิตรานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2017-12-21T02:14:16Z-
dc.date.available2017-12-21T02:14:16Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745790273-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56604-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรึกษาเปรียบเทียบความเชื่อด้านสุขภาพ ความตั้งใจที่จะปฏิบัติและความรู้เกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเองของนิสิตหญิงระดับปริญญาตรีระหว่างเงื่อนไขการทดลองที่ 1การเสนอความน่ากลัวร่วมกับการให้คำแนะนำอย่างละเอียดโดยใช้วีดีทัศน์ และการให้เอกสารแนะนำกับเงื่อนไขการทดลองที่ 2 การให้คำแนะนำอย่างละเอียดโดยใช้วีดีทัศน์ร่วมกับการให้เอกสารแนะนำ เงื่อนไขการทดลองที่ 3 การให้เอกสารแนะนำและเงื่อนไขควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดความรู้ ความเชื่อเรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนองและโรคมะเร็งเต้านม ผลการวิจัยพบว่า 1. ความเชื่อด้านสุขภาพ ภายหลังการทดลองทันทีที่มีสหสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางบวกอย่างมีนัยสำคัญ (r = .30, P< .01) กับการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ภายหลังการทดลอง 4 สัปดาห์ แต่ความเชื่อด้านสุขภาพมีสหสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางบวกกับการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างไม่มีนัยสำคัญ เมื่อวัดตัวแปรทั้งสองภายหลังการทดลอง 4 สัปดาห์ 2. เงื่อนไขการทดลองที่ 1 มีการรับรู้ถึงการเป็นไปได้ของการเกิดโรคมะเร็งเต้านม การรับรู้ถึงอุปสรรคของการตรวจเต้านมด้วย ตนเอง ภายหลังการทดลองทันที และภายหลังการทดลอง 4 สัปดาห์ ไม่แตกต่างจากเงื่อนไขการทดลองที่ 2, 3 และเงื่อนไขควบคุม 3. เงื่อนไขการทดลองที่ 1 มีการรับรู้ถึงความร้ายแรงของโรคมะเร็งเต้านม ภายหลังการทดลองทันทีสูงกว่าเงื่อนไขการทดลองที่ 3 และเงื่อนไขควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (P< .05)แต่สูงกว่าเงื่อนไขการทดลองที่ 2 อย่างไม่มีนัยสำคัญ และภายหลังการทดลอง 4 สัปดาห์ เงื่อนไขการทดลองที่ 1 มีคะแนนเฉลี่ยไม่แตกต่างจากเงื่อนไจการทดลองที่ 2, 3 และเงื่อนไขควบคุม 4. เงื่อนไขการทดลองที่ 1 มีการรับรู้ถึงประโยชน์ของการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ความรู้เกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ความตั้งใจที่จะปฏิบัติ ภายหลังการทดลองทันทีและภายหลังการทดลอง 4 สัปดาห์ สูงกว่าเงื่อนไขควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (P< .05)แต่สูงกว่าเงื่อนไขการทดลองที่ 2, 3 อย่างไม่มีนัยสำคัญ 5. เงื่อนไขการทดลองที่ 1 มีการตรวจเต้านมด้วยตนเองภายหลังการทดลอง 4 สัปดาห์ สูงกว่าเงื่อนไขควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (P< .05) แต่สูงกว่าเงื่อนไขการทดลองที่ 2, 3 อย่างไม่มีนัยสำคัญen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this experimental research were to compare health belief, intention to perform and knowledge about breast self-examination of female undergraduate students between the first condition, fear appeals, elaborated recommendations using video tape and brief brochure recommendations; the second condition, elaborated recommendations using video tape and brief brochure recommendations; the third condition, brief brochure recommendations; and the fourth condition, the control condition. The instruments in this research were the knowledge, belief in breast self-examination and breast cancer scales. The results show that: 1. There is significant positive linear correlation between health belief measured immediately after the experimental treatment and breast self-examination measured four weeks later (r = .30, P< .01) but the correlation between both variables measured four weeks after the treatment is not significant. 2. Subjects in the first condition do not have perceived susceptibility of breast cancer and perceived barriers of breast self-examination immediately after the experimental treatment and four weeks later significantly different from the second, the third and the control conditions. 3. Subjects in the first condition have significantly higher perceived severity of breast cancer immediately after the experimental treatment than the third and the control conditions (P< .05); but not the second condition. After four weeks, the first condition does not differ significantly from the second, the third, and the control conditions. 4. Subjects in the first condition have significantly higher perceived benefits of breast self-examination, knowledge about breast self-examination, and intention to perform than the control condition, both immediately after the treatment and four weeks later (P< .05), but not the second and third conditions. 5. Subjects in the first condition have significantly higher practice on breast self-examination four weeks after the treatment than the control condition (P< .05), but not the second and the third conditions.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเต้านม -- มะเร็งen_US
dc.subjectเต้านม -- การตรวจen_US
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองen_US
dc.subjectการสื่อสารสาธารณสุขen_US
dc.subjectBreast -- Canceren_US
dc.subjectBreast -- Examinationen_US
dc.subjectSelf-care, Healthen_US
dc.subjectCommunication in public healthen_US
dc.titleผลของการเสนอความน่ากลัว การให้คำแนะนำอย่างละเอียดโดยใช้วีดิทัศน์ และการให้เอกสารแนะนำต่อความเชื่อด้านสุขภาพ ความตั้งใจที่จะปฏิบัติและความรู้เกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ของนิสิตหญิงระดับปริญญาตรีen_US
dc.title.alternativeThe effects of fear appeals,elaborated recommendations using video tape and brief brochure recommendations upon health belief,intention to perform and knowledgeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาสังคมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sopin_am_front.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open
Sopin_am_ch1.pdf5.38 MBAdobe PDFView/Open
Sopin_am_ch2.pdf901.26 kBAdobe PDFView/Open
Sopin_am_ch3.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open
Sopin_am_ch4.pdf804.17 kBAdobe PDFView/Open
Sopin_am_ch5.pdf702.08 kBAdobe PDFView/Open
Sopin_am_back.pdf5.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.