Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56613
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้อมศรี เคท-
dc.contributor.authorสุกัญญา ยุติธรรมนนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2017-12-21T05:04:18Z-
dc.date.available2017-12-21T05:04:18Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746335081-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56613-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาผลของการใช้กระบวนการคิดแก้ปัญหาอนาคตตามแนวคิดของทอแรนซ์ที่มีต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดทองเพลง สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน กลุ่มควบคุม 30 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ในระยะการทดลองนั้นนักเรียนกลุ่มทดลองได้รับการสอนตามกระบวนการคิดแก้ปัญหาอนาคตตามแนวคิดของทอแรนซ์จำนวน 18 แผน ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการสอนโดยวิธีการแก้ปัญหาจากคู่มือการอบรมหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) จำนวน 18 แผน โดยใช้เนื้อหาของกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทุกคนได้รับการทดสอบความสามารถในการคิดแก้ปัญหาในระยะก่อนการทดลองและหลังการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า คะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหาหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 และคะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหาหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effect of using Torrance’s Future Problem Solving process on ability of Prathom Suksa six students. The subjects were 60 Prathom Suksa six students from Wadthongplang School. They were randomly assigned into experimental group and control group with thirty each. The experimental group was taught eighteen sessions by using Torrances’s Future Problem Solving process while the control group was taught on problem solving method from Teaching Manual of the Elementary School Curriculum B.E.2521 (Revised B.E.2533) within the content of the life experience area. Subjects in both experimental group and control group were tested on problem solving abilities before and after treatment. The data were analyzed by using the t-test. The results were as follows: Students in the experimental group got scores on problem solving abilities on post-test significantly higher than students in the control group at the .01 level. Students in the experimental group also got post-test on problem solving abilities test significantly higher than their scores on the pretest at the .01 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการแก้ปัญหาen_US
dc.subjectการแก้ปัญหาในเด็กen_US
dc.subjectกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en_US
dc.subjectProblem solvingen_US
dc.subjectProblem solving in childrenen_US
dc.subjectThe life experience area -- Study and teaching (Elementary)en_US
dc.titleผลของการใช้กระบวนการคิดแก้ปัญหาอนาคตตามแนวคิด ของทอแรนซ์ที่มีต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeEffect of using Torrance's future problem solving process on problem solving ability of prathom suksa six studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNormsri.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sukanya_yu_front.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_yu_ch1.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_yu_ch2.pdf2 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_yu_ch3.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_yu_ch4.pdf618.72 kBAdobe PDFView/Open
Sukanya_yu_ch5.pdf994.78 kBAdobe PDFView/Open
Sukanya_yu_back.pdf11.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.