Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56719
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิศณุ ทรัพย์สมพล-
dc.contributor.authorวัชรคม โภคารัตนานันท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-01-05T02:24:26Z-
dc.date.available2018-01-05T02:24:26Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56719-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractในปัจจุบัน ทางหลวงชนทบและทางหลวงท้องถิ่นซึ่งเป็นถนนส่วนใหญ่ของประเทศที่มีปริมาณการจราจรต่ำ ขาดการบำรุงรักษาที่ดี ทั้งเนื่องมาจากงบประมาณซ่อมบำรุงที่จำกัดและขาดการวางแผนงานเพื่อบำรุงรักษาทางเชิงป้องกัน ดังนั้นการวางแผนงานบำรุงรักษาทางที่เหมาะสมจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะทำให้มีการใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่า งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบจำลองการวางแผนงานบำรุงรักษาผิวทางลาดยางในถนนที่มีปริมาณการจราจรต่ำ โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ช่วยในการวิเคราะห์แผนงาน ซึ่งแบบจำลองดังกล่าวพัฒนาจากข้อมูลสายทางของกรมทางหลวงที่มีปริมาณการจราจรน้อยกว่า 1,000 คันต่อวันตลอดปี และสามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบจำลองย่อย ได้แก่ แบบจำลองการเสื่อมสภาพของผิวทางลาดยาง ซึ่งใช้ในการพยากรณ์สภาพผิวทางภายหลังได้รับการซ่อมบำรุงแต่ละวิธีโดยใช้ค่าดัชนีความขรุขระสากลเป็นตัวแทนของสภาพผิวทาง และแบบจำลองค่าผลประโยชน์สูงสุด ซึ่งใช้วิเคราะห์หาแผนงานที่ทำให้สภาพผิวทางดีที่สุดตลอดอายุใช้งาน และนำหลักการมูลค่าปัจจุบันสุทธิเทียบเท่ารายปีช่วยในการเปรียบเทียบทางเลือกของโครงการซ่อมบำรุง โดยแผนงานบำรุงรักษาผิวทางที่วิเคราะห์ได้นั้นมีวัตถุประสงค์ของการวางแผนเพื่อให้โครงข่ายสายทางมีสภาพดีที่สุดตลอดอายุใช้งานของแต่ละสายทาง ภายใต้กรอบงบประมาณที่จำกัด และสามารถวางแผนในลักษณะของแผนงานในลักษณะของแผนงานแบบปีต่อปีหรือแผนงานแบบต่อเนื่องหลายปีได้ ซึ่งหลักการวิเคราะห์แผนงานในลักษณะนี้สามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับการพิจารณาปัจจุบันทางด้านอื่นๆ เช่น ด้านวิศวกรรม ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านสังคม และปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้นen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, the rural and municipal roads which have low traffic volume are major roads in Thailand. These roads lack the appropriate maintenance resulting from limited maintenance budget and the preventive maintenance planning. Therefore, the effective pavement maintenance planning is critical in order to use the allocated budget efficiently. The purpose of this research is to develop the pavement maintenance planning model for low traffic volume roads using the mathematical analysis method. In this research, the model was based on data from the Department of Highways’ road network which has the average annual daily traffic (AADT) less than 1,000 PCU. The model can be divided into two parts. One is the flexible pavement deterioration model to predict the pavement condition after treatment is performed. The International Roughness Index (IRI) was used to represent pavement condition. Another is the optimization model, which analyzes the optimized pavement maintenance plan that considers useful life of pavement. The equivalent uniformed annual cost method (EUAC) was used to compare each maintenance plan. The objective of pavement maintenance planning is to maximize the pavement condition over its life cycle of road network which is subjected to budget constraint. This model can create both a single year plan and a multi-year plan. It can also consider inclusively with other factors such as engineering, economic, social, as well as environmental factors.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1418-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแบบจำลองen_US
dc.subjectทางหลวงชนบทen_US
dc.subjectถนน -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซมen_US
dc.subjectผิวทาง -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซมen_US
dc.subjectRural roadsen_US
dc.subjectModels and modelmakingen_US
dc.subjectRoads -- Maintenance and repairen_US
dc.subjectPavements -- Maintenance and repairen_US
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองการวางแผนงานบำรุงรักษาผิวทางในถนนที่มีปริมาณการจราจรต่ำen_US
dc.title.alternativeDevelopment of pavement maintenance planning model for low traffic volume roadsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWisanu.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1418-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
watcharakhom_po_front.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open
watcharakhom_po_ch1.pdf852.01 kBAdobe PDFView/Open
watcharakhom_po_ch2.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open
watcharakhom_po_ch3.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open
watcharakhom_po_ch4.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open
watcharakhom_po_ch5.pdf983.63 kBAdobe PDFView/Open
watcharakhom_po_ch6.pdf813.48 kBAdobe PDFView/Open
watcharakhom_po_back.pdf8.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.