Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56757
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ อนันตชาติ-
dc.contributor.authorเพชรรัตน์ สาสนปัชโชติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-01-11T03:42:51Z-
dc.date.available2018-01-11T03:42:51Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56757-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractศึกษา (1) การวางตำแหน่งตราสินค้าของสินค้าประเภทต่างๆ ในโฆษณานิตยสาร (2) บุคลิกภาพตราสินค้าของสินค้าประเภทต่างๆ ในโฆษณานิตยสาร (3) ความแตกต่างของการวางตำแหน่งตราสินค้าในโฆษณานิตยสารแต่ละประเภท และ (4) ความแตกต่างของบุคลิกภาพตราสินค้าในโฆษณานิตยสารแต่ละประเภท ด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากโฆษณาในนิตยสารวัยรุ่น (A Day) นิตยสารผู้ชาย (FHM) และนิตยสารผู้หญิง (แพรว) ในปี พ.ศ. 2551 จำนวนทั้งสิ้น 1,082 ชิ้น ผลการวิจัยพบว่า โฆษณาในนิตยสารไทยส่วนใหญ่นิยมใช้การวางตำแหน่งตราสินค้าโดยบุคลิกภาพ และลักษณะและคุณสมบัติของสินค้าเป็นหลัก โดยสินค้าที่ให้ประโยชน์ด้านอารมณ์ เช่น เครื่องแต่งกาย ของใช้ส่วนตัว และเครื่องสำอาง นิยมวางตำแหน่งตราสินค้าโดยใช้บุคลิกภาพ ส่วนสินค้าที่มีระดับความเกี่ยวพันสูง เช่น อุปกรณ์สื่อสาร และเครื่องใช้ไฟฟ้า นิยมวางตำแหน่งตราสินค้าโดยใช้ลักษณะและคุณสมบัติของสินค้า นอกจากนี้ ในส่วนของบุคลิกภาพตราสินค้า พบว่า โฆษณาในนิตยสารวัยรุ่นและนิตยสารผู้ชายนิยมใช้บุคลิกภาพกระฉับกระเฉง มีพลังมากที่สุด ในขณะที่โฆษณาในนิตยสารผู้หญิงนิยมใช้บุคลิกภาพมีเสน่ห์เป็นหลัก โดยสินค้าเพื่อความสวยงามส่วนใหญ่มีการใช้บุคลิกภาพตราสินค้าแบบดูดี และบุคลิกภาพตื่นเต้นเร้าใจในระดับสูง ส่วนสินค้าประเภทเทคโนโลยีนิยมใช้บุคลิกภาพตื่นเต้นเร้าใจ บุคลิกภาพเก่งกาจ และบุคลิกภาพจริงใจมากที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeTo study brand positioning and brand personality strategies used among product categories in magazine advertisements, and differences in brand positioning and brand personality strategies used in different magazines. Content analysis was conducted to examine 1,082 teens’ (A day), men’s (FHM), and women’s (Praew) magazine advertisements in 2008. The results showed that the positioning strategies mostly used were personality, and features and attributes. Hedonic products, for example, clothing, personal products, and cosmetics, were mainly positioned by personality while high involvement products, for example, communications and electronic products, were frequently positioned by features and attributes. The findings also indicated that the personality mostly used in teens’ and men’s magazine advertisements was spirited whereas charming personality was highly portrayed in women’s ones. Moreover, most beauty products were found to employ sophisticated and exciting personalities while technology products mainly portrayed competent and sincere personalities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.625-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสร้างชื่อตราผลิตภัณฑ์en_US
dc.subjectโฆษณาen_US
dc.subjectการสื่อสารทางการตลาดen_US
dc.subjectBranding (Marketing)en_US
dc.subjectAdvertisingen_US
dc.subjectCommunication in marketingen_US
dc.titleการวิเคราะห์ตำแหน่งและบุคลิกภาพของตราสินค้าในโฆษณาสื่อสิ่งพิมพ์en_US
dc.title.alternativeAnalysis of brand positioning and personality in print advertisementsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการโฆษณาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSaravudh.A@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.625-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
เพชรรัตน์ สาสนปัชโชติ.pdf3.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.