Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5678
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้อมศรี เคท-
dc.contributor.authorสมบัติ เผ่าพงค์คล้าย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-31T01:36:01Z-
dc.date.available2008-01-31T01:36:01Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741745478-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5678-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractส่งเสริมความรู้และความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่องเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง โดยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2546 โรงเรียนวัดเขาดิน จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 29 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบความรู้เรื่องเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง แบบสอบความสามารถในการแก้ปัญหา แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมในการเรียน แบบสอบถามความคิดเห็น วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที ระยะเวลาในการทดลอง 12 สัปดาห์ ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้เรื่องเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองของนักเรียนหลังการทดลอง สูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนหลังการทดลอง สูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้เรื่องเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองของนักเรียน หลังการทดลองสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนหลังการทดลอง สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือ ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeTo enhance of knowledge and problem solving ability of Prathom Suksa six students on community self-reliant economy by using problem-based learning. The subjects were 29 students of Prathom Suksa six in Khaodin school, Suphanburi Province, academic year 2003. The research instruments were achievement test, problem solving ability test, the questionnaire and the observation form. Data were analyzed by using mean, standard deviation and t-test. The duration of data collection was 12 weeks. The results were as follows: 1. The post-test mean score of the knowledge of the students was higher than the pre-test at the .05 level of significance. 2. The post-test mean score of the problem solving ability of the students was higher than the pre-test at the .05 level of significance. 3. The post-test mean score of the knowledge of the students was higher than the stipulated criterion score at the .05 level of significance. 4. The post-test mean score of the problem solving ability of the students was higher than the stipulated criterion score at the .05 level of significance.en
dc.format.extent1164330 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1321-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงen
dc.subjectการพึ่งตนเองen
dc.subjectการแก้ปัญหาen
dc.subjectการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐานen
dc.titleการส่งเสริมความรู้และความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่องเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง โดยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานen
dc.title.alternativeThe enhancement of knowledge and problem solving ability of prathom suksa six students on community self-reliant economy by using problem-based learningen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNormsri.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.1321-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sombut.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.