Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56904
Title: | การออกแบบและพัฒนาเครื่องดึงกระดูกสันหลัง |
Other Titles: | Design and developoment of a lumbar traction unit |
Authors: | จตุพร เอมอุดม |
Advisors: | วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | Viboon.S@Chula.ac.th |
Subjects: | ชีวกลศาสตร์ การยืดเหยียด การฟื้นฟูสมรรถภาพ กระดูกสันหลัง -- ความผิดปกติ เวชภัณฑ์ วิศวกรรมชีวเวช Biomechanics Rehabilitation Tactile sensors Lumbar vertebrae Stretch (Physiology) Spine -- Abnormalities Physical Therapy Techniques -- methods Medical instruments and apparatus Biomedical engineering |
Issue Date: | 2549 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | งานวิจัยนี้เป็นส่วนของการออกแบบและพัฒนาเครื่องดึงกระดูกสันหลังทั้งในด้านของกลไกและตัวควบคุม โดยกลไกของเครื่องดึงกระดูกสันหลังประกอบไปด้วยกลไกของระบบส่งกำลังโดยใช้ระบบเฟืองในการส่งกำลังเป็นหลัก กลไกม้วนเชือกคืนได้ใช้สปริงดีดติดไว้กับแกนเพลา อุปกรณ์วัดแรงตึงเชือกได้ใช้สปริงกดและเอ็นโคดเดอร์ในการวัดระยะยุบของสปริง และกลไกส่งผ่านเชือกสำหรับการควบคุมแรงดึงเชือกได้ใช้การควบคุมแบบป้อนกลับซึ่งทำให้การควบคุมแรงดึงเชือกเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมีเสถียรภาพและมีความแม่นยำสูง โดยจากผลการทดสอบจะเห็นได้ว่าค่าความผิดพลาดไม่เกิน 0.9 กิโลกรัม ซึ่งผลการทดสอบที่ได้ค่อนข้างเป็นที่น่าพอใจ นอกจากนี้ยังได้ทำการออกแบบกลไกปลดนิรภัยด้วยมือทำให้มีความปลอดภัยและความน่าไว้วางใจมากยิ่งขึ้น |
Other Abstract: | This research is to design and development of a lumbar traction unit. Both mechanical system and computer traction control are covered. The mechanical system consists of a gear train power transmission connecting the actuator to a traction unit and a safety mechanism for disengaging the gear train from the traction unit for emergency stop. A spring - type of tension sensor is also developed. A PID feedback control is to control the traction force through the measurement of the spring displacement. The maximum error of the traction force from the experiments is less than 0.9 kilogram which is good enough for real application. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมเครื่องกล |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56904 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2010 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2006.2010 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
jatuporn_em_front.pdf | 1.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
jatuporn_em_ch1.pdf | 462.27 kB | Adobe PDF | View/Open | |
jatuporn_em_ch2.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
jatuporn_em_ch3.pdf | 1.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
jatuporn_em_ch4.pdf | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
jatuporn_em_ch5.pdf | 1.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
jatuporn_em_ch6.pdf | 1.29 MB | Adobe PDF | View/Open | |
jatuporn_em_ch7.pdf | 330.9 kB | Adobe PDF | View/Open | |
jatuporn_em_back.pdf | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.