Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5708
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรทัย ชวาลภาฤทธิ์ | - |
dc.contributor.author | วรากร เกิดทรัพย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-01-31T08:40:04Z | - |
dc.date.available | 2008-01-31T08:40:04Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.isbn | 9741301014 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5708 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาการทำงานของระบบบึงประดิษฐ์แบบน้ำไหลใต้ผิวดิน (Subsurface-flow Constructed Wetlands) ในการบำบัดน้ำชะมูลฝอยที่ออกจากระบบบ่อบำบัดก่อนระบายทิ้ง เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการบำบัดของระบบควบคุมซึ่งบรรจุตัวกลางทรายขนาด 1-3 มิลลิเมตร กับระบบที่ปลูกพืช 2 ชนิด คือ ธูปฤาษี (Typha angustiolia) และเหงือกปลาหมอ (Acanthus ebracteatus) ซึ่งปลูกในตัวกลางทรายขนาดเดียวกัน โดยใช้แบบจำลอง 3 หน่วยการทดลอง แต่ละหน่วยมีระยะเวลาเก็บกักน้ำเป็น 3, 5 และ 10 วัน คิดเป็นภาระปริมาณน้ำ 3.9, 2.2 และ 1.1 เซนติเมตร/วัน ตามลำดับ ทำการทดลองโดยป้อนน้ำเสียที่มีค่าซีโอดีคงที่ที่ 500 มิลลิกรัม/ลิตร เข้าสู่แบบทดลอง พบว่าความสามารถในการบำบัดแปรผันกับระยะเวลาเก็บกักน้ำที่ระยะเวลาเก็บกักน้ำเท่ากันในระบบที่ปลูกเหงือกปลาหมอกับระบบควบคุมมีประสิทธิภาพในการบำบัดใกล้เคียงกัน ส่วนระบบที่ปลูกธูปฤาษีมีประสิทธิภาพสูงกว่า และระบบที่ปลูกธูปฤาษีที่ภาระปริมาณน้ำ 1.1 เซนติเมตร/วัน มีประสิทธิภาพสูงที่สุด โดยน้ำทิ้งที่ผ่านการบำบัดแล้วมีค่าของแข็งแขวนลอย ซีโอดี ไนโตรเจนทั้งหมด และสี เท่ากับ 6.3, 160, 5.1 มิลลิกรัม/ลิตร และ 27.9 เอสยู ตามลำดับ ซึ่งคิดเป็นประสิทธิภาพการบำบัดร้อยละ 92, 68, 89 และ 65 โดยลำดับ การศึกษาดุลมวลสารของไนโตรเจนในระบบดังกล่าวพบว่า ไนโตรเจนร้อยละ 78 ถูกกำจัดออกจากระบบด้วยกระบวนการดีไนตริฟิเคชันภายในตัวกลางทราย | en |
dc.description.abstractalternative | Studies surface-flow constructed wetlands in treating landfill leachate that discharge from stabilization pounds. Three laboratory-scale sand bed constructed wetlands were used for treatment efficiency comparison. Two kind of plants, cattails (Typha angustiolia) and sea holly (Acanthus ebracteatus), was planted in each wetland while no plant wetland was a control unit. Each unit was feed 500 mg./l. COD influent at three hydraulic loading rate; 3.3, 2.2 and 1.1 cm./d.. The experimental results revealed that the treatability was invert with hydraulic loading rate. Sea holly planted wetland and control unit have the same treatment efficiency at each hydraulic loading rate while the cattial unit was higher treatability than. The cattials planted constructed wetlands at 1.1 cm./d. hydraulic loading rate is the most effective treatability while the removal efficiencies of SS, COD, true color (SU) and total nitrogen were 92%, 68%, 65% and 89% respectively. Nitrogen balance was revealed that 78% of nitrogen was removed by dinitrification in sand bed. | en |
dc.format.extent | 5818307 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | บึงประดิษฐ์ | en |
dc.subject | น้ำชะขยะ | en |
dc.subject | น้ำเสีย -- การบำบัด | en |
dc.title | การใช้บึงประดิษฐ์แบบน้ำไหลใต้ผิวดินเพื่อการบำบัดขั้นที่สามสำหรับน้ำชะมูลฝอย | en |
dc.title.alternative | Use of subsurface-flow constructed wetlands for landfill leachate tertiary treatment | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | orathai.c@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Warakorn.pdf | 5.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.