Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57120
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รุ่งนภา พิตรปรีชา | - |
dc.contributor.author | สัณห์สินี ธนวิชากร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-02-19T06:31:13Z | - |
dc.date.available | 2018-02-19T06:31:13Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57120 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเรื่อง “สถานภาพการประชาสัมพันธ์ขององค์กรธุรกิจเอกชนในประเทศไทย” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพ และบทบาทการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ขององค์กรธุรกิจเอกชนในประเทศไทยและวิเคราะห์สถานภาพการดำเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์ขององค์กรธุรกิจเอกชนในประเทศไทยตามแบบจำลองของการประชาสัมพันธ์ 4 แบบ ของ Gruning J.E โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย 2 แบบในการศึกษาคือระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทำการสัมภาษณ์เจาะลึกกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์ขององค์กรธุรกิจเอกชนที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหารให้เป็นผู้ให้ข้อมูล 13 องค์กร รวม 13 คน และระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยทำการวิจัยเชิงสำรวจใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์ขององค์กรธุรกิจเอกชนที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหารให้เป็นผู้ให้ข้อมูล จำนวนทั้งสิ้น 83 คน จาก 83 องค์กร โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่นร้อยละ 95 และความคลาดเคลื่อนไม่เกินร้อยละ 10 ผลการวิจัยสามารถสรุปได้ ดังนั้นจากการทดสอบกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งได้แก่ องค์กรธุรกิจเอกชนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่าในทุกองค์กรมีการปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์ตามแบบจำลองของการประชาสัมพันธ์ทั้ง 4 แบบ และพบว่าสัดส่วนของจำนวนตัวอย่างในทุกแบบจำลองมีตัวเลขที่ใกล้เคียงกัน และจากการทดสอบด้วยค่า Anova Repeated Measure สรุปได้ว่า แบบจำลองของการประชาสัมพันธ์ที่แตกต่างกันมีผลให้แบบจำลองของการปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์ทั้ง 4 แบบมีค่าเฉลี่ยแตกต่างกัน และพบว่าแบบจำลองที่ 4 มีค่าเฉลี่ยแตกต่างจากแบบจำลองที่ 3 แบบจำลองที่ 2 และแบบจำลองที่ 1 อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติ ซึ่งหมายความว่า แบบจำลองที่ 4 คือแบบจำลองที่กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์มากที่สุด | en_US |
dc.description.abstractalternative | The research of “The status of public relations practice of private sector in Thailand” explores the information of PR status and role of private sector in Thailand and analysis of the status of public relations practice of private sector in Thailand by employing the four classic models of public relations of Gruning J.E. This research utilizes both qualitative and quantitative research methods. The qualitative method is carried out by interviewing the focus group of thirteen PR supervisors or staffs in thirteen business organizations. The quantitative research approach is performed by a survey. The implement of this survey is a questionnaire which was distributed to eighty-three respondents including PR supervisors or staff from eighty-three business organizations by positioned the reliability at 95 percent and 10% in tolerance. The outcomes of this research are: In terms of the sampling size examination, the private sector listed in the Stock Exchange of Thailand, it was found that each of private sectors employed PR practice parallel with the “Four Models” theory. At the overall, the proportion of the sampling size in every model significantly showed the similar number. According to the examination by using the “Anova Repeated Measured” study, it was clearly found that the difference of the four models has affected to the difference of ratio and PR practice in the private sectors in Thailand. In addition, the fourth model proved drastically a difference from the third, the second and the first model. In conclusion, the private sectors utilized the fourth model for the most part. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.206 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | บริษัทเอกชน -- ไทย | en_US |
dc.subject | องค์การ -- การประชาสัมพันธ์ | en_US |
dc.subject | Private companies -- Thailand | en_US |
dc.subject | Associations, institutions, etc. -- Public relations | en_US |
dc.title | สถานภาพการประชาสัมพันธ์ขององค์กรธุรกิจเอกชนในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Status of public relations practice of private sector in Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การประชาสัมพันธ์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Rungnapar.P@Chula.ac.th,napar99@hotmail.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.206 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
sunsinee_ta_front.pdf | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
sunsinee_ta_ch1.pdf | 726.08 kB | Adobe PDF | View/Open | |
sunsinee_ta_ch2.pdf | 3.85 MB | Adobe PDF | View/Open | |
sunsinee_ta_ch3.pdf | 1.4 MB | Adobe PDF | View/Open | |
sunsinee_ta_ch4.pdf | 7.16 MB | Adobe PDF | View/Open | |
sunsinee_ta_ch5.pdf | 5.71 MB | Adobe PDF | View/Open | |
sunsinee_ta_back.pdf | 1.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.