Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5718
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฑารัตน์ เอื้ออำนวย-
dc.contributor.authorอุทุมพร เผ่าสุวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-01T02:31:43Z-
dc.date.available2008-02-01T02:31:43Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741303777-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5718-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องในคดี ที่มีต่อการให้บริการของศาลอาญา ตลอดจนทราบปัญหาข้อขัดข้องที่เกิดขึ้น และเพื่อเป็นข้อมูลในการแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาการให้บริการของศาลอาญาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามสอบถามผู้ที่เกี่ยวข้องในคดี ที่มาติดต่อขอรับบริการที่ศาลอาญาทั้งหมดจำนวน 300 ราย และสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) ผู้เกี่ยวข้องในคดีจำนวน 10 ราย เพื่อรวบรวมข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และการทดสอบความสัมพันธ์ด้วยค่าไคสแควร์ (Chi-square) ซึ่งทดสอบด้วยความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณและวิเคราะห์เชิงมานุษยวิทยา สำหรับข้อมูลเชิงมานุษยวิทยา ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องในคดี ที่มีต่อการให้บริการของศาลอาญา คือ งานประชาสัมพันธ์ของศาลอาญาที่ผู้เกี่ยวข้องในคดี มาติดต่อรับบริการมีความพึงพอใจมากกว่าการติดต่องานอื่นๆ ในทุกด้าน ได้แก่ด้านความรวดเร็วและต่อเนื่อง การอำนวยความสะดวก การให้บริการอย่างเสมอ สุจริต สุภาพ ถูกต้อง และด้านสถานที่และความปลอดภัย ส่วนปัจจัยด้านระดับการศึกษา และจำนวนครั้งที่มาติดต่อขอรับบริการ มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องในคดี ที่มีต่อการให้บริการของศาลอาญา แต่เป็นไปในทิศทางตรงกันข้ามกับสมมติฐานการวิจัย และปัจจัยด้านเพศ อายุ อาชีพ ประเภทคดี และประเภทของผู้เกี่ยวข้องในคดีที่มาติดต่องานศาลอาญา ไม่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องในคดี ที่มีต่อการให้บริการของศาลอาญาen
dc.description.abstractalternativeTo study factors affecting satisfaction of persons involved in criminal cases toward Criminal Court services and to learn problems and existing hindrances in order to use them as baseline data for the improvement and development of Criminal Court services for better efficiency. questionnaires were used for collecting data from 300 customer who came for Criminal Court services, and used in-depth interviewed to carry out 10 persons. Percentage and Mean were used for the presentation of the data, and Chi-Square in testing of relationship, with the statistical significance level set at 0.05. It was found that the factor related to the customer satisfaction towards Criminal Court service was the service of the information task which access, consistency, responsive, credibility, courtesy, reliability and tangibility. But However, education of the customer and the number of contractions had relationship with their satisfaction in the opposite direction. Moreover sex, age, occupation, and categories of criminal cases had no significance relationship with their satisfaction towards Criminal Court service.en
dc.format.extent2446896 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความพอใจen
dc.subjectความพอใจของผู้ใช้บริการen
dc.subjectศาลอาญาen
dc.titleความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องในคดี ที่มีต่อการให้บริการของศาลอาญาen
dc.title.alternativeSatisfactions of persons involving in criminal cases towards the criminal court serviceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorjutharat.u@chula.ac.th-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
UtompornPha.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.