Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5726
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ พิทยพัฒน์-
dc.contributor.advisorคมสัน เพ็ชรรักษ์-
dc.contributor.authorชาญชัย เลาห์พงศ์ไพศาล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-01T03:24:28Z-
dc.date.available2008-02-01T03:24:28Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741304293-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5726-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยลัย, 2543en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้กล่าวถึงระบบการต่อลงดินของสถานีไฟฟ้าย่อยโดยแยกได้เป็น 2 ส่วน คือส่วนของความรู้ทางทฤษฎีและส่วนของซอฟต์แวร์ โดยในส่วนของทฤษฎีนั้นครอบคลุมความรู้พื้นฐานในการวิเคราะห์การออกแบบการต่อลงดินกรณีสมมติเป็นดินเนื้อเดียวและดินสองชั้น ในส่วนของซอฟท์แวร์นั้นได้พัฒนาโปรแกรมในการออกแบบการต่อลงดินของสถานีไฟฟ้าย่อยโดยพิจารณาผลของชั้นดิน ด้วยภาษา Visual Basic เวอร์ชั่น 6.0 ระบบต่อลงดินที่พิจารณาเป็นระบบที่มีลักษณะโครงตาข่ายเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยแนวโน้มของค่าความต้านทานจำเพาะของดินที่วัดได้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นหรือลดลงเพียงอย่างเดียว การศึกษาครั้งนี้ได้ทำการพิจารณาระบบต่อลงดินที่มีเฉพาะโครงตาข่ายและระบบต่อลงดินที่มีแท่งดินติดตั้งรอบโครงตาข่าย โดยมีข้อกำหนดที่ใช้ลวดตัวนำเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 10 มิลลิเมตร และฝังโครงตาข่ายลึก 0.5 เมตรจากผิวดิน การออกแบบได้แสดงผลออกมาในรูปของ ค่าศักดาไฟฟ้าสัมผัสและค่าศักดาไฟฟ้าช่วงก้าว โดยค่าความปลอดภัยในการออกแบบจะพิจารณาจากกรณีดินเนื้อเดียว ตามมาตราฐาน IEEE Std 80-1986en
dc.description.abstractalternativeThis thesis describes a substation grounding system, which comprises of two sections, i.e. the theoretical background study and software development. In the first section, describes the basic theory the analysis and design of substation grounding system for one layer and two layer soil. For the software section, the program was written by Visual Basic version 6.0. The grounding system considered are of square grid shape, the soil resistivity can increase or decrease for two layer soil. The grounding system considered have grid pattern with rods around the perimeter. The wire used had the diameter of 10 mm and layed at the depth of 0.5 m. The result of the substation grounding design was displayed in the form of mesh and step voltage to the safty value according to IEEE standard 80-1986.en
dc.format.extent1976811 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสถานีไฟฟ้าย่อยen
dc.titleการออกแบบระบบการต่อลงดินของสถานีไฟฟ้าย่อยโดยพิจารณาผลของชั้นดินen
dc.title.alternativeSubstation grounding system design with layers of soil considerationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorKomson.P@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chanchai.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.