Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5733
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรพันธ์ สิทธิสุข-
dc.contributor.advisorบัญชา ศันสนีย์วิทยกุล-
dc.contributor.authorวิชัย อิฐสถิตไพศาล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-01T04:33:28Z-
dc.date.available2008-02-01T04:33:28Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741728948-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5733-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความไวในการวินิจฉัยว่ามีทางเดินของกระแสไฟฟ้าแบบดูอัลเอวีโนดัล ในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการเต้นหัวใจชนิดเอวีเอ็นอาร์ที และความไวในการวินิจฉัยว่ามีทางเดินของกระแสไฟฟ้าแอกเซซอรีในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการเต้นหัวใจชนิดเอวีอาร์ที ด้วยการฉีดอดีโนซีน ในขณะผู้ป่วยมีการเต้นของหัวใจแบบ ไซนัส (อดีโนซีน เทสท์) วิธีดำเนินการ ทำการศึกษาโดยฉีดอดีโนซีน ขนาด 6 มก. และ 12 มก. ทางหลอดเลือดดำพร้อมกับบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบต่อเนื่องทางผิวหนัง และคลื่นไฟฟ้าด้วยการวางสายวัดไฟฟ้าในหัวใจ ในผู้ป่วย 34 ราย ที่เข้ารับการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดปกติแบบเอวีเอ็นอาร์ที หรือ เอวีอาร์ที ด้วยการใช้คลื่นวิทยุในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ การแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจทำโดยผู้แปลผลสองคนที่ไม่ทราบประวัติของผู้ป่วยและผลของการตรวจไฟฟ้าในหัวใจ โดยใช้เกณฑ์การวินิจฉัยจากการศึกษาที่รายงานก่อนหน้านี้ ผลการศึกษา พบว่าการทดสอบด้วยการฉีดยาอดีโนซีนร่วมกับการแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบต่อเนื่องทางผิวหนังมีความไวร้อยละ 32.3 เมื่อใช้อดีโนซีน 6 มก. และร้อยละ 67.7 เมื่อใช้ 12 มก. สรุป การทดสอบด้วยการฉีดยาอดีโนซีนขนาด 12 มิลลิกรัมทางหลอดเลือดดำระหว่างที่มีการเต้นของหัวใจแบบไซนัสมีความไวปานกลางในการแสดงว่ามีทางเดินของกระแสไฟฟ้าแบบดูอัลเอวีโนดัล และทางเดินของกระแสไฟฟ้าแอกเซซอรีen
dc.description.abstractalternativeObjectives: Incremental doses of adenosine triphosphate can be used for detection of Dual AV nodal physiology (DAVNP) in AV nodal reentrant tachycardia (AVNRT) patients and accessory pathway (AP) in AV reentrant tachycardia (AVRT) patients. This study determined whether administration of fixed doses (6 mg. and 12 mg.) adenosine during sinus rhythm has good sensitivity for detection of DAVNP and AP. Methods: Adenosine 6 mg. and 12 mg. were intravenously administered with recording of surface ECG and intracardiac electrogram in 34 patients who were diagnosed of AVNRT or AVRT who underwent electrophysiologic study (EP) and radiofrequency ablation at King Chulalongkorn Memorial hospital. The test were interpreted by two interpretators who were blinded for the result of EP study using previous reported criteria. Results: The sensitivity of the test using surface ECG were 32.3% at 6 mg and 67.7% at 12 mg. The sensitivity of the test using intracardiac electrogram were 25.8% at 6 mg and 58.1% at 12 mg. Conclusion: Adenosine 12 mg administration during sinus rhythm had just moderate sensitivity for detection of DAVNP and AP.en
dc.format.extent738868 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหัวใจ -- โรค -- การวินิจฉัยen
dc.subjectอัตราการเต้นของหัวใจen
dc.titleความไวในการวินิจฉัย ภาวะเอวีเอ็นอาร์ที และภาวะเอวีอาร์ทีด้วยการฉีดอดีโนซีน ในขณะมีการเต้นของหัวใจแบบไซนัสen
dc.title.alternativeSensitivity of adenosine administration in sinus rhythm for diagnosis of av nodal reentrant tachycardia and av reentrant tachycardiaen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSurapun.S@Chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wichai.pdf721.55 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.