Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5762
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ชรพร เชาวกิจเจริญ-
dc.contributor.authorชัชฎาพร องอาจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-02-04T05:02:33Z-
dc.date.available2008-02-04T05:02:33Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741714459-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5762-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการกำจัดโลหะหนักโดยใช้เรซินแลกเปลี่ยนไอออนที่เตรียมจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรได้แก่ ต้นมันสำปะหลัง ใบสับปะรด และกาบมะพร้าว ชนิดไม่ปรับสภาพ ปรับสภาพด้วยกรดไฮโดรคลอริก 1 นอร์มัล ปรับสภาพด้วย ฟอร์มัลดีไฮด์ 5% และปรับสภาพด้วยฟอร์มัลดีไฮด์ 37% ความเข้มเข้มข้นของโลหะหนัก (นิกเกิล ทองแดง และสังกะสี) ที่ทำการศึกษา ได้แก่ 5, 10, 20 และ 50 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยทำการทดลองแบบทีละเท การวิจัยพบว่าเรซินแลกเปลี่ยนไอออนที่เตรียมจากกาบมะพร้าวชนิดไม่ได้ปรับสภาพจะมีประสิทธิภาพในการกำจัดโลหะหนักได้สูงกว่าชนิดที่ปรับสภาพด้วยด้วย ฟอร์มัลดีไฮด์ 5% ชนิดที่ปรับสภาพด้วยฟอร์มัลดีไฮด์ 37% และชนิดที่ปรับสภาพด้วย 1 นอร์มัล กรดไฮโดรคลอริค ตามลำดับ เรซินแลกเปลี่ยนไอออนที่เตรียมจากกาบมะพร้าวมีประสิทธิภาพในการกำจัดโลหะทองแดง นิกเกิลและสังกะสีจากน้ำเสียสังเคราะห์สูงกว่าเรซินแลกเปลี่ยนไอออนที่เตรียมจากต้นมันสำปะหลังและใบสับปะรด โดยมีประสิทธิภาพในการกำจัดโลหะทองแดง นิกเกิลและสังกะสีเฉลี่ยเท่ากับ 67.72%, 22.55% และ 44.78% ตามลำดับ เรซินแลกเปลี่ยนไอออนมีประสิทธิภาพในการกำจัดโลหะหนักดีที่สุด ที่ความเข้มข้นเริ่มต้นของโลหะหนักในน้ำเสีย 5 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยพบว่าเมื่อความเข้มข้นเริ่มต้นเพิ่มขึ้นประสิทธิภาพในการกำจัดโลหะหนักจะลดลง นอกจากนี้ผลการกำจัดโลหะหนักในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งมีความเข้มข้นของทองแดง นิกเกิล และสังกะสีเริ่มต้นเท่ากับ 3.930, 4.034 และ 0.567 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ พบว่ากาบมะพร้าวชนิดไม่ได้ปรับสภาพสามารถกำจัดโลหะหนักดังกล่าวได้เฉลี่ย 85.80, 65.13 และ 90.43 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeThis research investigated the comparision of heavy metal removal efficiency by ion exchange resin prepared from cassava tree, pineapple leaf and coconut husk which was both untreated and treated with hydrochloric 1 N, formaldehyde 5% and formaldehyde 37% respectively. The concentration of heavy metals studies (copper, nickel and zinc) was varied at 5,10, 20 and 50 mg/l by using batch experiment. The efficiency of heavy metal removal in synthetic wastewater indicated that the highest efficiency was ion exchange resin made from untreated coconut husk, cassava tree and pineapple leaf, respectively. The highest efficiency was ion exchange resin prepared from untreated, treated with hydrochloric, treated with formaldehyde 5% and treated with formaldehyde 37% respectively. The result indicated that chemical treatment did not enhance the removal efficiency of heavy metal. The aforementioned ion exchange resin had average efficiency of copper, nickel and zinc of 67.72%, 22.55% and 44.78% respectively. Ion exchange resin had the highest efficiency at an initial concentration 5 mg./l. When the concentration of heavy metal in wastewater was increased, the efficiency of heavy metal was decreased. This research also investigated the efficiency of heavy metal removal from industrial wastewater. The initial concentration of copper, nickel and zinc was 3.930, 4.034 and 0.567 mg/l respectively. The result indicated that untreated coconut husk had the average efficiency of copper, nickel and zinc removal at 85.80%, 65.13% and 90.43% respectively.en
dc.format.extent1553392 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเรซินแลกเปลี่ยนไอออนen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดโลหะหนักen
dc.subjectมันสำปะหลังen
dc.subjectกาบมะพร้าวen
dc.subjectใบสับปะรดen
dc.titleการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการกำจัดโลหะหนักโดยใช้เรซินแลกเปลี่ยนไอออนที่เตรียมจากต้นมันสำปะหลัง ใบสับปะรด และกาบมะพร้าวen
dc.title.alternativeComparision of heavy metal removal efficiency by ion exchange resin prepared from cassava tree, pineapple leaf and coconut husken
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPetchporn.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chatchadaporn.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.