Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57851
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Artiwan Shotipruk | - |
dc.contributor.author | Chantaporn Tubtimdee | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering | - |
dc.date.accessioned | 2018-03-15T04:39:27Z | - |
dc.date.available | 2018-03-15T04:39:27Z | - |
dc.date.issued | 2009 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57851 | - |
dc.description | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2009 | en_US |
dc.description.abstract | This study aimed to extract phenolic compounds from T.chebula fruits and concentrate the extract using sugaring out concentration process. The water-ethanol (EtOH) and water- propylene glycol (PG) solvent systems were used in extraction process and the design of experiment (DOE) was employed to determine the optimal extraction conditions (temperature, concentration of EtOH and PG and extraction time). The results showed the optimal condition for water-EtOH was obtained at the temperature of 76C and concentration of EtOH 76.4 %v/v and 82 min. For water-PG system, the optimal extraction condition was at temperature of 57C, PG concentration of 36%v/v and extraction time of 23 min. In sugaring out concentration of the extracts, glucose was added to the extracts that contained highest phenolic compounds in both solvent systems from the extraction experiment. The concentration of glucose that gave the desired phase separation ratio as well as the distribution coefficients of gallic acid (GA) and ellagic acid (EA), two major phenolic compounds in T. chbula, was determined 200 g/L for both water-EtOH and water-PG systems. The phase ratios for water-EtOH and water-PG were 1.94 and 1.85, respectively. The distribution coefficients of total phenolic for both solvent systems were the same, which was 1.98. Those of GA and EA were 4.89 and 3.52 for water-EtOH, and 4.34 and 3.22 for water-PG system, indicating that sugaring out concentration is a potentially effective method for pheonic compound concentration. Finally, the concentrated extracts show higher antioxidant activities than the nonconcentrated extracts and that antioxidant activity of extract in water-PG was higher than those of the water or water-EtOH extracts. | en_US |
dc.description.abstractalternative | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสารฟีนอลิกจากผลสมอไทย และการทำให้สารสกัดเข้มข้นขึ้นด้วยน้ำตาล โดยในกระบวนการสกัดได้ทำการศึกษาระบบตัวทำละลาย น้ำ-เอทานอล และ น้ำ-พรอพิลลีนไกลคอล ซึ่งปัจจัยที่ศึกษาในกระบวนการสกัดคือ อุณหภูมิ ความเข้มข้นของเอทานอล ความเข้มข้นของพรอพิลลีนไกลคอล และ เวลาที่ใช้ในการสกัด โดยใช้การออกแบบการทดลองเข้ามาช่วยหาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัด พบว่าสภาวะที่เหมาะสมที่สุดในการสกัดสำหรับระบบน้ำ-เอทานอลคือที่อุณหภูมิ 76 องศาเซลเซียส ความเข้มข้นเอทานอล 76.4 % โดยปริมาตรและเวลาที่ใช้ในการสกัด 82 นาที ในระบบน้ำ-พรอพิลลีนไกลคอลสภาวะที่เหมาะสมที่สุดคืออุณหภูมิ 57 องศาเซลเซียส ความเข้มข้นพรอพิลลีนไกลคอล 36% โดยปริมาตรและเวลาที่ใช้ในการสกัด 23 นาที หลังจากนั้นในส่วนของการทำให้สารสกัดเข้มข้นขึ้นได้นำสารสกัดจากทั้งสองระบบตัวทำละลายที่ให้ปริมาณฟีนอลิกออกมามากที่สุดมาทำเข้มข้นด้วยกระบวนการการทำเข้มข้นด้วยน้ำตาลโดยใช้น้ำตาลกลูโคส พบว่าที่ปริมาณน้ำตาล 200กรัมต่อลิตรสารสกัด ทำให้ได้อัตราส่วนสถานะสารตัวอย่างที่ต้องการของทั้งสองระบบ และได้ทำการศึกษาสัมประสิทธิ์การกระจายตัวของกรดแกลลิก และกรดแอลลาจิกที่ความเข้มข้นน้ำตาลเดียวกันนี้ พบว่าอัตราส่วนสถานะสารตัวอย่างในระบบน้ำ-เอทานอลมีค่า 1.94 และระบบน้ำ-พรอพิลลีนไกลคอลมีค่า 1.85 โดยสัมประสิทธิ์การกระจายตัวของฟีนอลิกในระบบน้ำ-เอทานอลและน้ำ-พรอพิลลีนไกลคอลมีค่าเท่ากันคือ 1.98 ในส่วนของสัมประสิทธิ์การกระจายตัวของกรดแกลลิก และกรดแอลลาจิกในระบบน้ำ-เอทานอล มีค่า4.89 และ 3.52 ตามลำดับ ในระบบน้ำ-พรอพิลลีนไกลคอล ค่าสัมประสิทธิ์การกระจายตัวของกรดแกลลิก และกรดแอลลาจิกมีค่า 4.34 และ 3.22 ตามลำดับ สุดท้ายได้ทำการวัดประสิทธิภาพการต่อต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดเข้มข้นพบว่ามีประสิทธิภาพดีกว่าสารสกัดที่ไม่ได้ผ่านกระบวนการทำเข้มข้น นอกจากนี้สารสกัดในระบบน้ำ-พรอพิลลีนไกลยังมีประสิทธิภาพในการต่อต้านอนุมูลอิสระดีกว่าสารสกัดในระบบน้ำเอทานอลและสารสกัดในระบบน้ำอีกด้วย | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1611 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Extraction (Chemistry) | en_US |
dc.subject | Plant extracts | en_US |
dc.subject | Phenols | en_US |
dc.subject | Terminalia chebula fruits | en_US |
dc.subject | การสกัด (เคมี) | en_US |
dc.subject | สารสกัดจากพืช | en_US |
dc.subject | สารประกอบฟีนอล | en_US |
dc.subject | สมอไทย | en_US |
dc.title | Extraction and concentration of phenolic compounds from terminalia chebula friuts | en_US |
dc.title.alternative | การสกัดและการทำให้เข้มข้นของสารประกอบฟีนอลิกจากผลสมอไทย | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Engineering | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Chemical Engineering | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Artiwan.Sh@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.1611 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chantaporn Tubtimdee.pdf | 800.24 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.